ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธย = พระศรีสุธรรมราชา
| พระปรมาภิไธย = สมเด็จพระสรรเพชญที่ 7
| วันพระราชสมภพ =
| วันสวรรคต = [[พ.ศ. 2199]]
เส้น 15 ⟶ 16:
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2199]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = 2 เดือน 1720 วัน<ref name="หน้า288"/>
| รัชกาลก่อนหน้า = [[สมเด็จเจ้าฟ้าไชย]]
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
| วัดประจำรัชกาล =
}}
 
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 7|สมเด็จพระสรรเพชญ์พระองค์อื่น|สมเด็จพระสรรเพชญ์}}
'''สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาธรรมราชาธิราช''' หรือ '''สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 7''' หรือ '''พระศรีสุธรรมราชาธิราช''' เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 26 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] และเป็นพระองค์ลำดับรัชกาลที่ 3 แห่ง[[ราชวงศ์ปราสาททอง]] (ทรงครองราชย์ [[8 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2199]] - [[25 ตุลาคม]]ในปี พ.ศ. 2199) พระองค์เป็นพระอนุชาของใน[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]] โดยบางแห่งกล่าวว่าเป็นบุตรของมหาดเล็ก พี่ชายของนางอิน พระมารดาของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง<ref>[http://www.kingdom-siam.org/ayudhya-d.html ราชอาณาจักรสยาม]</ref>
 
== พระราชประวัติ ==
=== ก่อนครองราชย์ ===
สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาธรรมราชาธิราชเป็นพระอนุชาของในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อสมเด็จพระเจ้าปราสาททองปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยานั้น สมเด็จพระเจ้าปราสาททองตรัสว่า "''น้องเราคนนี้น้ำใจกักขฬะหยาบช้า มิได้มีหิริโอตัปปะ จะให้เป็น[[พระมหาอุปราช|อุปราช]]รักษาแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณมิได้ ให้เป็นแต่เจ้าพระ ชื่อ พระศรีสุธรรมราชา''" พร้อมกันนี้โปรดให้พระศรีสุธรรมราชาตั้งบ้านหลวงอยู่ที่ริมวัดสุทธาวาสสุธาวาส<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 272</ref>
 
=== ขึ้นครองราชย์ ===
สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อสมเด็จพระเจ้าปราสาททองปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยานั้น สมเด็จพระเจ้าปราสาททองตรัสว่า "น้องเราคนนี้น้ำใจกักขฬะหยาบช้า มิได้มีหิริโอตัปปะ จะให้เป็น[[พระมหาอุปราช|อุปราช]]รักษาแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณมิได้ ให้เป็นแต่เจ้าพระ ชื่อ พระศรีสุธรรมราชา" พร้อมกันนี้โปรดให้พระศรีสุธรรมราชาตั้งบ้านหลวงอยู่ที่ริมวัดสุทธาวาส
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง [[สมเด็จเจ้าฟ้าไชย|เจ้าฟ้าไชย]] พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อจากพระราชบิดา แต่สมเด็จเจ้าฟ้าไชยทรงครองราชย์ได้ไม่นานเพียง พระศรีสุธรรมราชา9 พระปิตุลาเดือน และ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช|พระนารายณ์]] พระราชนัดดาของพระองค์อนุชาต่างพระมารดาในสมเด็จเจ้าฟ้าไชย ก็สมคบคิดกันชิงราชบัลลังก์ส่งคนมาติดต่อกับพระศรีสุธรรมราชาเพื่อให้ชิงราชสมบัติ เมื่อถึงเวลาค่ำของวันตามที่ทั้งสองพระองค์ตกลงกันแล้ว พระนารายณ์ได้พา[[กรมหลวงโยธาทิพ|พระราชกัลยาณี]] พระขนิษฐาในพระองค์ลอบหนีออกจากพระราชวังทางประตูตัดสระแก้วเพื่อเสด็จไปหาพระศรีสุธรรมราชา หลังจากนั้น พระศรีสุธรรมราชาและพระนารายณ์จึงได้ยกกำลังพลเข้ามาในพระราชวัง จับกุมสมเด็จเจ้าฟ้าไชยและนำพระองค์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ณ [[วัดโคกพระยา]]<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เมื่อชิงราชสมบัติเป็นผลสำเร็จฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 284</ref> พระศรีสุธรรมราชาก็ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พร้อมกับทรงแต่งตั้งพระนารายณ์ พระราชนัดดาเป็น[[พระมหาอุปราช]] โดยให้เสด็จไปประทับ ณ [[พระราชวังจันทรเกษม|พระราชวังบวรสถานมงคล]]
 
=== ถูกชิงราชสมบัติ ===
=== การขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ===
หลังจากครองราชสมบัติได้ 2 เดือนเศษ สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาธิราชทอดพระเนตรเห็นพระราชกัลยาณีแล้วมีพระทัยเสน่หา ถึงกับให้พระราชกัลยาณีเสด็จขึ้นไปหาที่ห้องด้วยหมายจะร่วมสังวาส แต่พระราชกัลยาณีหนีลงมาที่พระตำหนักแล้วบอกพระสนม พระสนมจึงให้พระราชกัลยาณีซ่อนให้ตู้พระสมุด หามออกไปส่งพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อถึงแล้วพระราชกัลยาณีจึงเข้าเฝ้าพระนารายณ์ ทรงพระกันแสงและทูลเล่าเหตุการณ์ทั้งหมด พระนารายณ์ทรงทราบก็ทรงโทมนัสน้อยพระทัยตรัสว่า
{{แม่แบบ:พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ปราสาททอง}}
 
{{คำพูด|อนิจจา พระเจ้าอา เรานี้ คิดว่าสมเด็จพระบิตุราชสวรรคตแล้ว ยังแต่พระเจ้าอาก็เหมือนหนึ่งพระบรมราชบิดายังอยู่ จะได้ปกป้องพระราชวงศานุวงศ์สืบไป ควรหรือมาเป็นได้ดังนี้ พระองค์ปราศจากหิริโอตัปปะแล้วโอตตัปปะแล้ว ไหนจะครองสมบัติเป็นยุติธรรมเล่า น่าที่จะร้อนอกสมณชีพราหมณ์ ณชีพราหมณ์อาณาประชาราษฎร ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเป็นแท้ จะละไว้มิได้ ด้วยพระองค์ก่อแล้วจำจะสานตามเถิด จะเสี่ยงเอาบารมีเป็นที่พึ่ง}}
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง [[สมเด็จเจ้าฟ้าไชย|เจ้าฟ้าไชย]] พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อจากพระราชบิดา แต่สมเด็จเจ้าฟ้าไชยทรงครองราชย์ได้ไม่นาน พระศรีสุธรรมราชา พระปิตุลา และ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช|พระนารายณ์]] พระราชนัดดาของพระองค์ ก็สมคบคิดกันชิงราชบัลลังก์ เมื่อถึงวันตามที่ทั้งสองพระองค์ตกลงกันแล้ว พระนารายณ์ได้พา[[พระราชกัลยาณี]] พระขนิษฐาในพระองค์ลอบหนีออกจากพระราชวังทางประตูตัดสระแก้วเพื่อเสด็จไปหาพระศรีสุธรรมราชา หลังจากนั้น พระศรีสุธรรมราชาและพระนารายณ์จึงได้ยกกำลังพลเข้ามาในพระราชวัง จับกุมสมเด็จเจ้าฟ้าไชยและนำพระองค์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ณ [[วัดโคกพระยา]] เมื่อชิงราชสมบัติเป็นผลสำเร็จ พระศรีสุธรรมราชาเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พร้อมกับทรงแต่งตั้งพระนารายณ์ พระราชนัดดาเป็น[[พระมหาอุปราช]] โดยให้เสด็จไปประทับ ณ [[พระราชวังจันทรเกษม|พระราชวังบวรสถานมงคล]]
 
พระนารายณ์รับสั่งเรียกขุนนางเข้ามาแล้วตรัสเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ขุนนางเหล่านั้นก็เข้าร่วมด้วย<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 285</ref>
=== เหตุแห่งการยึดอำนาจ ===
 
หลังจากสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาขึ้นครองราชสมบัติได้สองเดือนเศษ พระนารายณ์ได้ชิงราชสมบัติจากพระองค์ ซึ่งการช่วงชิงราชสมบัติจากสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาโดยพระนารายณ์นั้นมีการกล่าวไว้ในหลายแง่มุม โดย[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]]กล่าวว่า สมเด็จพระศรีสุธรรมราชามีจิตเสน่หาต่อ[[พระราชกัลยาณี]] ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของพระองค์และเป็นพระขนิษฐาของพระนารายณ์ จึงมีรับสั่งให้ไปเฝ้าบนพระที่ แต่พระราชกัลยาณีไม่ได้เสด็จขึ้นไปและได้นำความมาบอกพระนม พระนมจึงเชิญพระราชกัลยาณีซ่อนในตู้พระสมุดแล้วหามออกไปยังพระราชวังบวรสถานมงคลอันเป็นที่ประทับของพระนารายณ์ เมื่อความทราบถึงพระนารายณ์ก็ทรงกริ้วและตรัสว่า
 
{{คำพูด|อนิจจา พระเจ้าอา เราคิดว่าสมเด็จพระบิตุราชสวรรคต ยังแต่พระเจ้าอาก็เหมือนพระบรมราชบิดายังอยู่ จะได้ปกป้องพระราชวงศานุวงศ์สืบไป ควรหรือมาเป็นดังนี้ พระองค์ปราศจากหิริโอตัปปะแล้ว ไหนจะครองสมบัติเป็นยุติธรรมเล่า น่าที่จะร้อนอกสมณชีพราหมณ์ อาณาประชาราษฎร ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเป็นแท้ จะละไว้มิได้}}
 
เป็นที่เชื่อกันว่า เหตุการณ์เล็กน้อยข้างต้นอาจเป็นเพียงข้ออ้างหนึ่งของพระนารายณ์ที่นำมาใช้ในการชิงราชสมบัติจากสมเด็จพระศรีสุธรรมราชา{{อ้างอิง}} มีหลักฐานของ[[ฮอลันดา]]กล่าวถึงการปรึกษาของพระนารายณ์กับพ่อค้าชาวฮอลันดาในการขอความช่วยเหลือเพื่อชิงราชสมบัติมาตั้งแต่แรกที่สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาขึ้นครองราชย์เมื่อเดือนสิงหาคม{{อ้างอิง}}
 
=== สวรรคต ===
พระนารายณ์ได้รับการสนับสนุนจาก[[พระยาเสนาภิมุข]] [[พระยาไชยาสุระ]]และ[[ ทหารญี่ปุ่น]] 40 นาย รวมทั้งชาว[[มุสลิม]]จาก[[ชาวเปอร์เซีย]] การต่อสู้ยึดอำนาจเกิดขึ้นค่อนข้างรุนแรงในตอนเย็นวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[หนึ่งในปี พ.ศ. 2199]] จนถึงเช้าของวันรุ่งขึ้น ไพร่พลของทั้งสองฝ่ายล้มตายลงเป็นจำนวนมาก ทั้งสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาและพระนารายณ์ต่างได้รับบาดเจ็บจากกระสุนปืน สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาสู้ไม่ได้จึงถอยหนีไปวังหลังแต่ถูกพระนารายณ์จับกุมตัวและนำไปสำเร็จโทษที่[[วัดโคกพระยา]] ครองราชสมบัติได้เพียง 2 เดือน 20 วัน<ref name="หน้า288">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 288</ref>
 
พระนารายณ์ได้รับการสนับสนุนจาก[[พระยาเสนาภิมุข]] [[พระยาไชยาสุระ]]และ[[ทหารญี่ปุ่น]] 40 นาย รวมทั้งชาว[[มุสลิม]]จาก[[เปอร์เซีย]] การต่อสู้ยึดอำนาจเกิดขึ้นค่อนข้างรุนแรงในตอนเย็นวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[ พ.ศ. 2199]] จนถึงเช้าของวันรุ่งขึ้น ไพร่พลของทั้งสองฝ่ายล้มตายลงเป็นจำนวนมาก ทั้งสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาและพระนารายณ์ต่างได้รับบาดเจ็บจากกระสุนปืน สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาสู้ไม่ได้จึงถอยหนีไปวังหลังแต่ถูกพระนารายณ์จับกุมตัวและนำไปสำเร็จโทษที่[[วัดโคกพระยา]]
 
ในวันที่ [[26 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2199]] พระนารายณ์ได้ปราบดาภิเศกขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาซึ่งอยู่ในราชสมบัติได้เพียง 2 เดือน 17 วัน มีพระนามว่า '''สมเด็จพระนารายณ์มหาราช'''
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ลำดับรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | URL = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
{{รายการอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
* วุฒิชัย มูลศิลป์, ''สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา'' สารานุกรมไทยฉบับ[[ราชบัณฑิตยสถาน]] เล่มที่ ๒๖ หน้า ๑๖๘๒๘
* [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]., พระบาทสมเด็จพระ ''[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]]'' พระนคร : ศิวพร, ๒๕๑๑
* ''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๘๒ เรื่อง [[พระราชพงศาวดารกรุงสยาม]] จากต้นฉบับ[[บริติชมิวเซียม]] กรุง[[ลอนดอน]]'' กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๗
* Cushman, Richard D, (Trans). ''The Royal Chronicles of Ayutthaya''. Bangkok : The Siam Societey, ๒๐๐๐
{{จบอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 65 ⟶ 64:
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = [[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] <br>([[ราชวงศ์ปราสาททอง]])
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2199]]
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จเจ้าฟ้าไชย]]<br>([[ราชวงศ์ปราสาททอง]])
|วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 2199]])
|ถัดไป = [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]<br>([[ราชวงศ์ปราสาททอง]])
|วาระถัดไป = ([[พ.ศ. 2199]] - [[พ.ศ. 2231]])
}}
{{จบกล่อง}}
เส้น 75 ⟶ 74:
{{พระมหากษัตริย์ไทย}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
 
{{ประสูติปี|}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2199}}
 
{{เรียงลำดับ|ศรีสุธรรมราชา}}
{{อายุขัย||2199}}
 
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา|ศรีสุธรรมราชาในราชวงศ์ปราสาททอง]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ปราสาททอง]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกสำเร็จโทษ]]
[[หมวดหมู่:ผู้ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]