ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยุสมัครเล่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
"กิจการวิทยุสมัครเล่น" ได้รับการรับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมายอย่างแท้จริงเมื่อ วันที่ [[4 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2530]] จากการประกาศใช้ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแห่งชาติ ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ. 2530 นับได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสให้มีการติดต่อสื่อสารแบบ "[[นักวิทยุสมัครเล่น]]" อย่างแท้จริงขึ้นในประเทศไทย
 
ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลง "สัญญาณเรียกขานนักวิทยุอาสาสมัคร" เป็น "สัญญาณเรียกขานนักวิทยุสัมคเล่น" จาก VR ... เป็น HS ... ให้เป็นไปตามสากลกำหนด ซึ่ง ITU กำหนดให้ประเทศไทยใช้ " HS " โดยมีนายศรศิลป์ คล่องแคล่ว หรือ VR728 ( HS1YI ) เจ้าหน้าที่บริหารงานสื่อสาร 5 ตำแหน่งขณะนั้น ปัจจุบัน (พ.ศ.2560) พนักงานปฏิบลัติการระดับสูง สังกัดสำนักงาน กสทช. เขต 9 (เชียงใหม่) เป็นผู้ออกแบบในการจัดสรรระบบสัญญาณเรียกขานให้นักวิทยุอาสาสมัครในสมัยนั้น ประมาณ 3 พันกว่าคน กระจายอยู่ทั่วประเทศ แบ่งเป็น 10 โซน พร้อมมีการออกใบอนุญาตเช่น HS1 ... / HS2 ... / HS3 ... / HS4 ... / HS5 ... / HS6 ... / HS7 ... / HS8 ... / HS9 ... เสนอขอความเห็นชอบผ่านนายไกสร พรสุธี ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารความถี่วิทยุ (ตำแหน่งราชการก่อนเกษียณ ปลัดกระทรวงคมนาคม และปลัดกระทรวง ICT รองเลขาธิการ APT) เสนออธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข จนได้รับการอนุมัติ และใช้ต่อสืบมาถึงปัจจุบัน
 
== ความเป็นนักวิทยุสมัครเล่นของประเทศไทยและการจัดตั้งสถานีวิทยุคมนาคมสมัครเล่น ==