ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูกลีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ทท
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{Taxobox
[[หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิตเซลล์เดี่ยว|มใใใใใใใใใใใใ]]
| color = khaki
| image = Euglena sp.jpg
| image_width = 240px
| caption =
| domain = [[Eukaryote]]
| regnum = [[Excavata]]
| superphylum = [[Discoba]]
| phylum = [[Euglenozoa]]
| classis = [[Euglenoidea]]
| ordo = [[Euglenales]]
| familia = [[Euglenaceae]]
| genus = '''''Euglena'''''
| genus_authority = [[Christian Gottfried Ehrenberg|Ehrenberg]], 1830
}}
 
'''ยูกลีนา''' (euglena) เป็น[[สัตว์เซลล์เดียว]]ขยายพันธุ์ได้โดยวิธีแบ่งเซลล์ มีลักษณะเป็นรูปกระสวย หน้าป้าน ท้ายเรียว มีเยื่อหุ้มหนาเรียก [[เพลลิเคิล (Pellicle)]] มีช่องเปิดขนาดเล็ก เรียก [[ไซโตสโตม (Cytostome)]] เชื่อมต่อเซลล์เป็นช่องเรียก canal และ ตอนปลายจะพองออกมีลักษณะเป็นถุงเรียกว่า [[รีเซอวัว]] ([[Reservoir]]) ทั้ง canal และ resovior รวมเรียกว่า [[ไซโตฟาริงซ์]] (Cytopharynx) โดยที่ช่วงฐานจะมีส่วนที่เรียกว่า เรียก [[ไคเนโตโซม]] หรือ [[เบลฟฟาโรพลาสต์]] หรือ [[เบซอลบอดี]] (Kinetosome or Blepharoplast or Basal body) เป็นที่เกิดของ[[แฟลเจลลัม]] โดยมี 2 เส้น เส้นยาวยื่นจากไซโตสโตม เพื่อใช้ในการเคลื่อนที่, เส้นสั้นอยู่ภายในรีเซอวัว -มี[[คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล]]ลักษณะทรงกลมอยู่ทางด้านข้างของรีเซอวัว โดยมีแวคิวโอลขนาดเล็กล้อมรอบอยู่ ทำหน้าที่รวบรวมน้ำ และกำจัดน้ำโดยการหดตัว ทาง canal ของ gullet euglena มีจุดตาสีแดง (Eye spot or Stigma) เพราะมี caroteinoid pigment granules ลักษณะเป็นรูปถ้วยอยู่ทางด้านข้างไซโตฟาริงซ์ ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของแสงส่งไปยังอวัยวะรับความรู้สึกที่โคน flagellum ที่เรียกว่า paraflagellar body (rod) หรือ paraxonemal หรือ paraxial body เพื่อทำให้เกิดการเคลื่อนที่พัดโบกไปยังตำแหน่งของแสงที่สองมาเป็นการตอบสนองที่เรียกว่า phototaxis
{{DEFAULTSORT:ใมมวฒฒม}}
 
ตัวของยูกลีนาเป็นสีเขียว เนื่องจากมี[[คลอโรพลาสต์]]รูป Large plated chloroplasts with the so-called double sheeted pyrenoid, that is, a pyrenoid
which carries on both plastid surfaces a watch glass shaped cup of paramylon อยู่ในไซโตพลาสซึม จัดเป็น mixotroph เพราะ เมื่ออยู่ในสภาพที่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ autophototroph อาหารสะสมเป็น[[พาราไมลอน]]กระจายในเซลล์ ถ้าอยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ heterotroph แบบ holozoic nutrition หรือ phagocytosis โดยคลอโรฟิลล์จะสลายไป เรียก bleached euglena หรือ mutant euglena ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการชักนำ (induction) เช่น ความมืด,ยา, UV light,ความร้อน เป็นต้น พวกนี้จะแค่ protoplastid ที่ยังไม่กลายเป็น mature chloroplast แต่ถ้ากลับมาอยู่ในสภาพที่มีแสงใหม่ 4 ชั่วโมงพบยูกลีนาจะสร้างคลอโรฟิลล์ขึ้นมาใหม่โดย protoplastid มีลักษณะรูปร่างยาวขึ้นและ เริ่มเป็นชั้นของ lamellae เกิดขึ้น (lamination of chloroplast) หลังจากนั้น 72 ชั่วโมงพบว่าเหมือนกับ euglena ปรกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เรียก ปรากฏการนนี้ว่า light-dark adaptation
== การสืบพันธุ์ ==
การสืบพันธุ์ของยูกลีนาเป็นแบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งเซลล์ตามยาวจากด้านหน้าไปยังด้านท้าย ในสภาพอากาศที่ไม่เหมาะสมยูกลีนาจะแบ่งตัวในซีสต์ โดยเซลล์หดตัวเป็นรูปกลมหุ้มด้วย[[เยื่อเจลลาติน]] (Gelationous covering) เป็นการเข้าเกราะ จากนั้นยูกลีนาจึงเริ่มแบ่งตัว ซึ่งจะได้ยูกลีนามากกว่า 1 ตัวใน 1 [[ซีสต์]]
 
[[หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิตเซลล์เดี่ยว]] #เพิ่มเติมยูกลีนามีตะขอใช่ดักศัตรู และเวลาเคลื่อนที่จะชิดคอบฟาไปเลื่อนๆ
{{โครงชีววิทยา}}