ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงจักรเจษฎา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 29:
เมื่อ[[กรุงศรีอยุธยา]]เสียกรุงครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 เจ้าฟ้าลาทรงติดตามสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกไปประทับที่[[เมืองพิษณุโลก]]จนพระบิดาเสด็จสวรรคต พระองค์จึงได้ปลงพระศพและนำพระอัฐิมาถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้สถาปนาพระอนุชาเป็น ''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงจักรเจษฎา'' เมื่อปี พ.ศ. 2328 ทรงรับราชการเป็นยกกระบัตรทัพใน[[สงครามเก้าทัพ]] และร่วมตี[[เมืองเชียงใหม่]]กับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]<ref name="ราชสกุลวงศ์">{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 4}}</ref>
 
พระองค์มีพระโอรสธิดาจำนวนมากพระองค์หาทราบพระนามได้หมด<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 8}}</ref> หนึ่งในนั้นคือ [[หม่อมเจ้าพระศีลวราลังการ (สอน เจษฎางกูร)]] ซึ่งเชื้อพระวงศ์เหล่านี้ถูกเรียกกันโดยสามัญว่า ''"พวกเจ้ากรมหลวงจักรเจษฎา"''<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/> ผู้สืบสันดานคือราชสกุล ''เจษฎางกูร ณ อยุธยา''<ref>{{cite web |url= http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000017304 |title= ย้อนรอยสายราชสกุล... ในพระบรมราชจักรีวงศ์ (๑) |author=|date= 11 กุมภาพันธู์ 2551 |work= |publisher= ASTV ผู้จัดการรายวัน |accessdate=10 ธันวาคม 2557}}</ref>
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2350 พระชันษา 48 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดบพิตรพิมุข<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/> พระอัฐิของพระองค์ประดิษฐานอยู่ที่หอพระนาก วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
 
==พระโอรสธิดา==
พระองค์มีพระโอรสธิดาจำนวนมากพระองค์หาทราบพระนามได้หมด<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 8}}</ref> เท่าที่ปรากฎพระนามมีจำนวน 17 องค์<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร|ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549|ISBN=974-221-818-8|หน้า=63-64|จำนวนหน้า=360}}</ref> มีรายพระนามดังต่อไปนี้
#หม่อมเจ้าชายหลาน
#หม่อมเจ้าชายฉัตร
# หม่อมเจ้าชายสอน หรือ [[หม่อมเจ้าพระศีลวราลังการ (สอน)|หม่อมเจ้าพระศีลวราลังการ]] (พ.ศ. 2321 - พ.ศ. 2410)
# หม่อมเจ้าชายอิน
# หม่อมเจ้าชายรอด
# หม่อมเจ้าหญิงน้อยหน่า ประสูติแต่หม่อมเหม ธิดาพระยาศรีสรราช (บุญเมือง)
# หม่อมเจ้าหญิงทับทิม
# หม่อมเจ้าหญิงมะลิวัน
# หม่อมเจ้าหญิงประทุม
# หม่อมเจ้าชายฉิมพาลี
# หม่อมเจ้าหญิงอำภา
# หม่อมเจ้าหญิงภิมเสน
# หม่อมเจ้าหญิงน้อย
# หม่อมเจ้าหญิงนารี
# หม่อมเจ้าชายสุข
# หม่อมเจ้าชายเถร
# หม่อมเจ้าหญิงตลับ (พ.ศ. 2345 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2418)
 
พระองค์มีพระโอรสธิดาจำนวนมากพระองค์หาทราบพระนามได้หมด<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 8}}</ref> หนึ่งในนั้นคือ [[หม่อมเจ้าพระศีลวราลังการ (สอน เจษฎางกูร)]] ซึ่งเชื้อพระวงศ์เหล่านี้ถูกเรียกกันโดยสามัญว่า ''"พวกเจ้ากรมหลวงจักรเจษฎา"''<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/> ผู้สืบสันดานคือราชสกุล ''เจษฎางกูร ณ อยุธยา''<ref>{{cite web |url= http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000017304 |title= ย้อนรอยสายราชสกุล... ในพระบรมราชจักรีวงศ์ (๑) |author=|date= 11 กุมภาพันธู์ 2551 |work= |publisher= ASTV ผู้จัดการรายวัน |accessdate=10 ธันวาคม 2557}}</ref>
 
== อ้างอิง ==