ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พงศาวดาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7101001 สร้างโดย 1.47.10.5 (พูดคุย)
แยกแยะ พงศาวดาร กับ บันทึกเหตุการณ์ (chronicle)
บรรทัด 1:
'''พงศาวดาร''' คือ[[บันทึกเหตุการณ์]]เกี่ยวกับ[[ประเทศ]][[ชาติ]]หรือ[[พระมหากษัตริย์]]ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 |URL=http://www.royin.go.th/dictionary/|จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า=800}}</ref>
'''พงศาวดาร''' เป็นคำรวมระหว่าง พงศ กับ อวตาร มีหมายความว่า การอวตารของเผ่าพันธุ์ บางแห่งเขียนว่า พระราชพงศาวดาร ซึ่งมีหมายความถึง การอวตารของ[[เทพเจ้า]] ([[พระนารายณ์]]) ใน[[ศาสนาฮินดู]] ดังนั้น พงศาวดารจึงเป็นเรื่องราวที่บันทึกเหตุการณ์[[พระมหากษัตริย์]]ผู้เป็นประมุขของประเทศนั้น หรือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ที่เกี่ยวกับประเทศหรือ[[ศาสนา]]เป็นส่วนใหญ่
 
พงศาวดารในฐานะหลักฐานทาง[[ประวัติศาสตร์]] ปัจจุบัน มีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็น[[หลักฐานชั้นต้น]]หรือ[[หลักฐานชั้นรอง]] เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้[[มหาศักราช]] บ้างใช้[[จุลศักราช]] และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น [[พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ]] ซึ่งเขียนขึ้นในสมัยรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนา[[กรุงศรีอยุธยา]] เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
“การบันทึกพงศาวดาร” ในภาษาอังกฤษมาจากคำว่า “Chronicle” ซึ่งแผลงมาจากภาษาลาตินว่า “chronica” จากภาษากรีก “χρονικά” ที่มาจากคำว่า “χρόνος” หรือ “chronos” หรือ “เวลา” หมายถึงการบันทึกความเป็นจริงและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ตามลำดับเวลาที่เกิดขึ้น โดยทั่วไปแล้วการบันทึกก็จะให้ความสำคัญระหว่างเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่เขียนจากมุมมองของผู้บันทึก การบันทึกประวัติศาสตร์ตามแนวดังว่าต่างจาก “การบันทึกบรรยาย” (narrative) หรือ “การบันทึกประวัติศาสตร์” (history) ซึ่งเป็นวิธีเลือกบันทึกเฉพาะเหตุการณ์ที่ผู้เขียนเห็นว่ามีความหมายหรือความสำคัญต่อบริบทของประวัติศาสตร์ และละเว้นสิ่งที่ผู้บันทึกเห็นว่าเป็นเกร็ดย่อยที่ไม่มีความสำคัญต่อเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ นักวิชาการแบ่งการบันทึกพงศาวดารย่อยออกเป็นสองประเภท: “การบันทึกพงศาวดารปัจจุบัน” (live chronicles) และ “การบันทึกพงศาวดารอดีต” (dead chronicle) การบันทึกพงศาวดารอดีตหมายถึงการบันทึกที่ผู้ประพันธ์บันทึกเหตุการณ์ในอดีตมาจนถึงเวลาที่บันทึกและไม่ทำการบันทึกต่อ ส่วน “การบันทึกพงศาวดารปัจจุบัน” การบันทึกที่ผู้บันทึกหลายคนช่วนกันบันทึกเหตุการณ์ร่วมสมัยที่เพิ่งเกิดขึ้นเป็นระยะๆ อย่างสม่ำเสมอเช่นในการบันทึก “[[พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน]]” ที่สันนิษฐานกันว่าเริ่มเขียนราวปลายรัชสมัยของ[[พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช]]ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 และมายุติลงในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เนื่องจาก “การบันทึกพงศาวดารปัจจุบัน” เป็นการบันทึกโดยบุคคลร่วมสมัย นักประวัติศาสตร์จึงมักจะเห็นกันว่าเป็นการบันทึกพงศาวดารที่มีคุณค่ามากกว่า “การบันทึกพงศาวดารอดีต”
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พงศาวดาร| ]]
ไมเคิล คูลิเคาว์สกีให้ความเห็นไว้ใน “Barbarians in Gaul, Usurpers in Britain” ว่า “การบันทึกพงศาวดารเป็นรูปแบบการเขียนวรรณกรรมคริสเตียนรูปหนึ่งสำหรับการเขียนประวัติศาสตร์”<ref>Kulikowski, "Barbarians in Gaul, Usurpers in Britain" ''Britannia'' '''31''' (2000:325-345).</ref> “จุดประสงค์หลักของการบันทึกก็มักจะเพื่อที่จะดึงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นของมนุษย์เข้ามาในรูปกรอบของกาลเวลาของคริสต์ศาสนา, เพื่อบันทึกเหตุการณ์ประจำปีที่เกิดขึ้นกับมนุษย์เพื่อให้สอดคล้องกับ[[Second Coming|การเสด็จมาเป็นครั้งที่สอง]]ของพระเยซู”<ref>Kulikowski, "Barbarians in Gaul, Usurpers in Britain" ''Britannia'' '''31''' (2000:325-345).</ref> ซึ่งทำให้การบันทึกพงศาวดารของคริสเตียนจะเน้นหนักไปทางเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่รวมทั้งสงคราม, โรคระบาด และ ภัยธรรมชาติ
 
การบันทึกพงศาวดารทางตะวันตกมักจะหมายถึงหนังสือที่เขียนขึ้นใน[[ยุคกลาง]]ที่บรรยายเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในประเทศหนึ่งประเทศใด หรือชีวิตของขุนนางหรือนักบวช แต่ก็ครอบคลุมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปด้วย หนังสือพิมพ์หรือนิตยสารบางครั้งก็จะใช้คำว่า “chronicle” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อ หรือแม้ในชื่อเรื่องของนวนิยายเพื่อสร้างความรู้สึกให้ผู้อ่านคิดว่าเป็นเรื่องราวที่มีความสำคัญ
 
[[หมวดหมู่:พงศาวดาร]]
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
[[bg:Хроника]]
[[ca:Crònica]]
[[cs:Kronika]]
[[da:Krønike]]
[[de:Chronik]]
[[en:Chronicle]]
[[eo:Kroniko]]
[[es:Crónica]]
[[et:Kroonika]]
[[fi:Kronikka]]
[[fr:Chronique médiévale]]
[[gl:Crónica]]
[[he:כרוניקה]]
[[hu:Krónika (műfaj)]]
[[ia:Chronica]]
[[it:Cronaca (genere letterario)]]
[[ja:年代記]]
[[ko:편년체]]
[[lt:Kronika]]
[[nl:Kroniek]]
[[no:Krønike]]
[[pl:Kronika]]
[[pt:Crónica]]
[[ro:Letopiseţ]]
[[ru:Хроники]]
[[sk:Kronika (stredovek)]]
[[sv:Krönika]]
[[tr:Vakanüvis]]
[[uk:Літописи]]
[[vi:Biên niên sử]]
[[zh:编年体]]