ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นะ (วิญญาณ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
จากวิกิอังกฤษและวิกิพม่าจะตรงกว่า
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Thagyamin Nat.jpg|thumb|150px|ตะจาเมงหรือ[[ท้าวสักกะ]] ([[พระอินทร์]]) ประมุขแห่งนัตทั้งปวง]]
{{มีอักษรพม่า}}
'''นัต''' ({{MYname|MY=[[ไฟล์:Nat.png]]‌|MLCTS=nat}}; {{lang-en|nat}}; {{IPA2|naʔ}}) ออกเสียง ''น่ะต์'' (มาจากคำว่า ''นาถะ'' ใน[[ภาษาบาลี]] ที่แปลว่า "ที่พึ่ง") หมายถึง[[ผีวิญญาณ]]ของชาวพม่า เป็นความเชื่อพื้นเมืองที่มีมาก่อนที่[[พุทธศาสนา]]จะเข้ามาในพม่า นัตแบ่งเป็นผีบรรพบุรุษ ลักษณะกึ่งผีกึ่ง[[เทวดา]]37 คล้าย[[เทพารักษ์]]นัตหลวง คอยดูแลคุ้มครองสถานที่กับส่วนที่ตนมีความสัมพันธ์เมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่เหลือทั้งหมด แต่ไม่มีฤทธานุภาพเทียบเท่าเทวดา<ref(เช่นวิญญาณในต้นไม้ name=พ/>แม่น้ำ โดยอาจจะมีศาลลักษณะคล้ายศาลเพียงตาตั้งบูชาอยู่ในสถานที่นั้นฯลฯ ) นัตหลวง 37 ตน เกือบทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นมนุษย์ที่มีการตายอย่างรุนแรง
 
นัตถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ นัตชั้นล่างหรือ อัคนัต ( အောက်နတ် ) คือวิญญาณคนทั่วไปไม่ว่าจะมีชื่อหรือไม่มีชื่อ ในขณะที่ อเทตนัต ( အထက်နတ် ) คือสูงกว่านัตชั้นล่าง เป็นเทวดาอาศัยอยู่ในหกชั้นฟ้า<ref>{{cite web|url=http://www.arts.ualberta.ca/axismundi/2000/syncretism_in_burma.php|title= Syncretism in Burma and Thailand|first=Kelly|last=Braun|date=January 15, 2001|publisher= ''Axis Mundi'', [[University of Alberta]]|accessdate=2008-09-15}}</ref> นัตมีความหลากหลายและแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคของพม่า การบูชานัตมีน้อยลงในเขตเมืองมากกว่าในชนบทและสังคมพม่าทั่วไป<ref name="BBP">{{cite web|url=http://www.dhammaweb.net/books/Cult_in_Burmese_Religion.pdf|title=The Spirit-possession Cult in the Burmese Religion|last=Brac de la Perriere|first=Benedicte|publisher=dhammaweb.net|accessdate=2008-09-14}}</ref>
แต่เดิม นัตเป็นเพียงผีหรือวิญญาณทั่วไปที่สิงสถิตย์ตามธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ หรือภูเขา แต่เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนผ่านไป จึงมีความเชื่อว่านัตเริ่มมีตัวตนและเริ่มผูกพันเข้ากับการตายของผู้คน จึงกลายเป็นสภาพนัตอย่างที่เชื่ออยู่ในปัจจุบัน
 
เมื่อ[[พระเจ้าอโนรธามังช่อ]] แห่ง[[อาณาจักรพุกาม|ราชวงศ์พุกาม]] นำศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจากอาณาจักรมอญเข้าสู่อาณาจักรพม่าใน[[พุทธศตวรรษที่ 18]] ความเชื่อเรื่องนัตจึงถูกผสมผสานเข้ากับศาสนาพุทธ โดยยกเลิกการบูชานัตตามแบบพื้นบ้านและนัตถูกยกระดับให้เป็นนัตหลวง คือ นัตระดับประเทศ พระองค์ได้ทำการตั้งศาลนัตหลวงขึ้นที่[[เขาโปปา]] หรือที่เรียกว่า มหาคีรีนัต ใกล้เมืองพุกาม โดยมีทั้งหมด 37 ตน โดยนัตที่สำคัญคือ นัตตัจจาเมง หรือ นัตสักรา ([[พระอินทร์]]), นัต[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]], นัตโยนบะเยง (นัต[[พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์]]) เป็นต้น
 
โดยบุคคลที่จะได้รับการนับถือเป็นนัตนั้น ต้องเป็นผู้ที่มีคนยกย่องนับถือและมีเรื่องราวขณะยังมีชีวิตเป็นที่พูดถึงโดยทั่วไป หรือเป็นผู้ที่มีสาเหตุการตายที่ไม่ใช่การตายแบบธรรมดาด้วยโรคชรา เป็นที่สลดใจแก่ผู้ที่ได้ยินเรื่องราว เช่น [[ผีตายโหง|ตายโหง]] (เสียชีวิตอย่างปัจจุบันทันด่วน) ตายด้วยโรคระบาดหรือถูกลอบสังหาร เพราะเชื่อว่ายังมีแรงจิตและฤทธานุภาพสูงกว่าผีทั่ว ๆ ไป
 
== นัตกับพระพุทธศาสนา ==
นัตถูกแบ่งออกเป็น 3 จำพวก คือ นัตพุทธ (นัตท้องถิ่นที่ผสมผสานกับความเชื่อทางพุทธศาสนา<ref name=พ/>), นัตใน (นัตท้องถิ่นและนัตที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศอินเดีย) และนัตนอก (นัตที่มีถิ่นฐานอยู่นอกกำแพง[[พระมหาธาตุเจดีย์ชเวซีโกน|วัดเจดีย์ชเวซีโกน]]) ซึ่งนัตที่สำคัญและผูกพันกับชาวพม่ามากที่สุด คือ นัตนอกหรือนัตหลวง <ref name="นัต"/>
เมื่อ[[พระเจ้าอโนรธามังช่อ]] แห่ง[[อาณาจักรพุกาม|ราชวงศ์พุกาม]] นำศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจากอาณาจักรมอญเข้าสู่อาณาจักรพม่าใน[[พุทธศตวรรษที่ 18]] ความเชื่อเรื่องนัตจึงถูกผสมผสานเข้ากับศาสนาพุทธ โดยยกเลิกการบูชานัตตามแบบพื้นบ้านและนัตถูกยกระดับให้เป็นนัตหลวง คือ นัตระดับประเทศ พระองค์ได้ทำการตั้งศาลนัตหลวงขึ้นที่[[เขาโปปา]] หรือที่เรียกว่า มหาคีรีนัต ใกล้เมืองพุกาม โดยมีทั้งหมด 37 ตน โดยนัตที่สำคัญคือ นัตตัจจาเมง หรือ นัตสักรา ([[พระอินทร์]]), นัต[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]], นัตโยนบะเยง (นัต[[พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์]]) เป็นต้น
 
== รายชื่อนัตกับสังคมชนบท ==
[[ไฟล์:Distant Popa.JPG|thumb|วิวโดยรอบริเวณภูเขาโปปา ศาลนัตอยู่บนยอดเขาเล็กทางซ้ายของภาพ]]
มีความเชื่อดั้งเดิมที่แพร่หลายในหมู่คนชนบทว่ามีวิญญาณของผู้พิทักษ์ป่าที่เรียกว่า ''ตอซองนัต'' ({{lang|my|တောစောင့်နတ်}}) และวิญญาณของผู้พิทักษ์ภูเขาที่เรียกว่า ''ตองซองนัต'' ({{lang|my|တောင်စောင့်နတ်}}) และดูเหมือนจะทำหน้าที่เป็นตัวยับยั้งการทำลายสิ่งแวดล้อมได้ในจุดหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตัดต้นไม้ขนาดใหญ่จะถูกละเว้นเนื่องจากเชื่อว่าเป็นที่อยู่อาศัยของเทพารักษ์ หรือที่เรียกว่า ''ย็อกกาโซ'' ({{lang|my|ရုက္ခစိုး}}) เพราะการกระทำเช่นนี้จะนำมาซึ่งความโกรธกริ้วแก่ผู้กระทำความผิด<ref>{{cite web|url=http://www.myanmar.gov.mm/Perspective/persp1999/1-99/tra.htm|title=Traditional Myanmar Folk Beliefs and Forest and Wildlife Conservation|author=Dr Sein Tu|publisher=''Perspective'' (January 1999)|accessdate=2008-09-13}}</ref>
 
== รายชื่อนัต ==
[[ไฟล์:Mount Popa 002.jpg|thumb|เหล่านัตในศาลบนภูเขาโปปา]]
[[ไฟล์:IMG banana-offering.JPG|thumb|เครื่องบูชานัตแบบดั้งเดิมคือกล้วยและมะพร้าว]]
 
[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงกล่าวไว้ในหนังสือเที่ยวเมืองพม่า กล่าวว่ามีนัตถึง 3937 ตน เรียกว่า '''นัตมิน''' (กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเรียกว่า ''แน็ตมิน'') หรือ นัตหลวง และมีตำราว่าด้วยเรื่องนัต ชื่อว่ามหาคีตะเมคะนี (Maha Gita Megani) ซึ่งอยู่ในคัมภีร์โลกาพยุหะ อันเป็นตำราประเพณีของพม่า ซึ่งเซอร์ยอช สก็อต เป็นผู้เรียบเรียงหนังสือภิธานเมืองพม่าเหนือ หรือ Upper Burma Gasetteer มีรายชื่อเมืองและประวัติของนัตหลวงทั้ง 3937 ตน บอกถึงธรรมเนียมลงนัตซึ่งส่วนใหญ่คนทรงจะเป็นผู้หญิง และนัตแต่ละตนจะมีการขับร้อง การฟ้อนรำ เครื่องดนตรี และเพลงเฉพาะตน โดยในวัดเจดีย์ชเวสิโกน เมืองพุกาม มีการสร้างนัตที่ทำจากไม้ ขนาดเท่าหุ่นกระบอกที่มีครบอยู่ 37 ตนเพียงแห่งเดียว ซึ่งแต่ละตัวต่างแต่งตัวด้วยอาภรณ์หลากสี ตั้งอยู่บนฐานชุกชีในวิหารยาวประมาณ 4 ห้อง มีเพียงรูปเดียวที่มีขนาดเท่าคนจริงสวมเครื่องทรงกษัตริย์ซึ่งคือพระอินทร์ผู้เป็นหัวหน้าแห่งนัตทั้งปวง
 
ในหนังสือ''เที่ยวเมืองพม่า'' ของไพรัตน์ สูงกิจบูลย์ได้มีการกล่าวถึงนัตว่ามีเพียง 37 ตน โดยในช่วงสมัย[[อาณาจักรพุกาม]] เหลือนัตอยู่เพียง 22 ตน ต่อมาได้เพิ่มขึ้นในสมัย[[พระเจ้าอโนรธา]]อีก 15 ตน โดยมีรายนามดังต่อไปนี้<ref>บุญยงค์ เกศเทศ. '''อรุณรุ่งฟ้าฉาน เล่าตำนานคนไท'''. กรุงเทพฯ:หลักพิมพ์, 2548. หน้า 76</ref>
เส้น 136 ⟶ 138:
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?t=25460 ผีนัต...ผู้พิทักษ์แห่งลุ่มแม่น้ำอิระวดี ]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
=== สื่อวิดิโอ ===