ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: '''พระพิมลธรรม''' นามเดิม '''ช้อย ฝอยทอง''' ฉายา '''{{ฐ}}านทตฺโต''' เป็นพร...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
== ประวัติ ==
'''พระพิมลธรรม''' มีนามเดิม '''ช้อย ฝอยทอง''' เป้นบุตรนายบุญธรรมกับนางพวง ฝอยทอง เกิดเมื่อวันขึ้น 11 ค่ำ เดือน 12 ปีเถาะ ตรงกับวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434 เวลา 7.05 น. เป็นบุตรนายบุญธรรมกับนางพวง ฝอยทอง ภูมิลำเนาอยู่บ้านใหม่หางกระเบน หมู่ 5 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่ออายุได้ 9 ขวบ ท่านได้เข้าศึกษากับพระอาจารย์น้อย วัดจันทร์ประเทศ จนอายุได้ 11 ปี จึงย้ายไปศึกษากับพระมหาหรุ่น ป.ธ. 5 วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
 
พ.ศ. 24542447 ได้อุปสมบทบรรพชาเป็นพระภิกษุสามเณร โดยมี[[สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ ในปีนั้นพระมหาหรุ่นอาพาธต้องกลับไปรักษาตัวที่บ้านเกิด จึงฝากให้[[สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)|พระมหาเฮง เขมจารี]] เป็นผู้ปกครองแทน ถึงปี พ.ศ. 2454 จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดยมีสมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย) เป็นพระอุปัชฌาย์ [[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)|พระธรรมเจดีย์ (เข้ม ธมฺมสโร)]] และ[[สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)|พระศรีวิสุทธิวงศ์ (เฮง เขมจารี)]] เป็นคู่กรรมวาจาจารย์ และ[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์<ref>เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒, หน้า 197</ref>
 
ขณะยังเป็นสามเณร เมื่ออายุได้ 17 ปีท่านสอบได้[[เปรียญธรรม 3 ประโยค]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 25|issue=ตอน 2|pages=หน้า 37|title=แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกสังฆการี [เรื่อง การสอบไล่พระปริยัติธรรมประจำ ศก ๑๒๖ กับรายนามพระสงฆ์สามเณรที่สอบไล่ได้]|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/002/33_2.PDF|date=12 เมษายน ร.ศ. 127|accessdate=30 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref> อายุ 18 ปีสอบได้[[เปรียญธรรม 4 ประโยค]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 25|issue=ตอน 52|pages=หน้า 1489|title=แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกสังฆการี [เรื่อง รายนามพระภิกษุสามเณรที่สอบไล่พระปริยัติธรรมได้]|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/052/1488.PDF|date=28 มีนาคม ร.ศ. 127|accessdate=30 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref> และอายุ 20 ปีสอบได้[[เปรียญธรรม 5 ประโยค]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 28|issue=ตอน 0 ง|pages=หน้า 521|title=แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกสังฆการี เรื่อง รายงานการสอบไล่พระปริยัติธรรม ศก ๑๒๙|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/520.PDF|date=11 มิถุนายน ร.ศ. 130|accessdate=30 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref> หลังจากอุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ขณะอายุได้ 21 ปี ท่านสอบได้อีกเป็น[[เปรียญธรรม 6 ประโยค]] ได้รับพระราชทานพัดหน้านางพื้นแพรเหลืองประดับเลื่อม มีนิตยภัตราคาเดือนละ 9 บาท<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 29|issue=ตอน ง|pages=หน้า 795|title=รายนามพระสงฆ์สามเณร ที่สอบไล่พระปริยัติธรรมได้ ในรัตนโกสินทร์ ศก ๑๓๐ ที่ได้รับพระราชทานพัดเปรียญและเปลี่ยนพัด|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/795.PDF|date=7 กรกฎาคม ร.ศ. 131|accessdate=30 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref>
 
== สมณศักดิ์ ==
* 30 ธันวาคม พ.ศ. 2463 เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญที่ ''พระศรีสมโพธิ์''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 37|pages=หน้า 3391|title=พระราชทานสัญญาบัตรพระสงฆ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2463/D/3390.PDF|date=9 มกราคม 2463|accessdate=29 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref>
* 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ ''พระราชโมลี ศรีปาพจนาภรณ์ธรรมพาที ยติคณิศร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 44|issue=ตอน 0 ง|pages=หน้า 2526|title=รายนามพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรสมณศักดิ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2470/D/2525.PDF|date=13 พฤศจิกายน 2470|accessdate=29 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref>
* 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 เป็น[[พระราชาคณะชั้นเทพ]]ที่ ''พระเทพโมลี ตรีปิฎกธาดา มหากถิกสุนทร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 48|issue=ตอน 0 ง|pages=หน้า 2920|title=พระราชทานสัญญาบัตรสมณศักดิ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/2920.PDF|date=8 พฤศจิกายน 2474|accessdate=29 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref>
* 19 กันยายน พ.ศ. 2478 เป็น[[พระราชาคณะชั้นธรรม]]ที่ ''[[พระธรรมไตรโลกาจารย์]] ปรีชาญาณดิลก ตรีปิฎกคุณาลงกรณ์ ยติคณิสสร บวรสังฆารามคามวาสี''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 52|issue=ตอน 0 ง|pages=หน้า 1892-1893|title=แจ้งความนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสมณศักดิ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/D/1892.PDF|date=22 กันยายน 2478|accessdate=29 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref>
* 19 ธันวาคม พ.ศ. 2488 เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]ที่ ''[[พระพิมลธรรม]]มหันตคุณ วิบุลยปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการภูสิต ยติกิจสาทร มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 62|issue=ตอนที่ 72 ก|pages=หน้า 721-723|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/A/072/710.PDF|date=25 ธันวาคม 2488|accessdate=29 มิถุนายน 2560|language=ไทย}}</ref>
 
== มรณภาพ ==