ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองมหานาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:KlongMahanak.JPG|thumb|270px|คลองมหานาค สมัยรัชกาลที่ 314]]
'''คลองมหาเน้เอกซ์เซนไฟเยอร์เต้เอกซ์เซนไฟเยอร์''' เป็นคลองขุดสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]]ที่แยกมาจาก[[คลองรอบกรุง]] ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลง[[สักวา]]กันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วง[[อานัมสยามยุทธ]]
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 13:
ปัจจุบันคลองมหานาคช่วงต่อกับคลองแสนแสบนั้นประสบปัญหาภาวะน้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นแรงเนื่องจากขยะที่ทิ้งไม่เป็นที่เป็นทางจากชุมชนแออัดที่เรียงรายโดยรอบ<ref>{{cite web |url= http://www.thairath.co.th/content/571295 |title= นี่หรือนครแห่งการท่องเที่ยว อเมซิ่งกรุงเทพฯ คนมักง่ายกับเมืองน้ำเน่า! |author=|date= 2 กุมภาพันธ์ 2559 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref>
 
== เกาะแน่นๆนะน้องนะในคลองมหานาค ==
จากการศึกษาของ[[เอนก นาวิกมูล]]พบว่าคลองมหานาคเคยมีเกาะขนาดน้อยอยู่สามเกาะ มีปรากฏครั้งแรกในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวีความว่า ''"[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงมี] พระโองการให้ขุดคลองรอบเกาะ ให้บ่ายเรือพระที่นั่งได้ เรียกว่าคลองมหานาค"''<ref name= "เอนก"/> ส่วน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงอธิบายเพิ่มเติมอีกว่า ''"คือมีเกาะในระหว่างโรงเรือกับวัดด้านหนึ่ง เกาะด้านตะวันออกที่เรียกว่าเกาะยายชีด้านหนึ่ง…"''<ref name= "เอนก"/> ในอดีตเมื่อถึงงานประเพณีนมัสการภูเขาทอง ก็จะมีการจัดงานรื่นเริง เช่น การแข่งเรือ ร้องเพลงเรือ เล่นดอกสร้อยสักวา จุดดอกไม้ไฟทั้งบนบกและในน้ำ โดยมีเกาะยายชีเป็นศูนย์กลางผู้คนที่เข้ามาร่วมชมการละเล่น<ref>[[สุจิตต์ วงษ์เทศ]]. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน ?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 163</ref> และยังปรากฏใน ''[[นิราศบรมบรรพต]]'' ของพระพินิจหัตถการ (ชื่น สาริกบุตร) ว่า<ref name= "เอนก"/>