ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Natty sci (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Natty sci (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{infobox football tournament|current=|logo=[[File:Emperor's Cup football.png]]|founded={{Start date and age|1921}}|number of teams=88|region=ญี่ปุ่น|domestic cup=[[เจแปนนีส ซูเปอร์คัพ]]|confed cup=[[AFC Champions League]]|current champions=[[คะชิมะแอนต์เลอส์]] <br> (สมัยที่ 5)|most successful club=[[มหาวิทยาลัยเคโอ]] (9 สมัย)|website=[http://www.jfa.jp/match/emperorscup JFA]|broadcasters=[[NHK]]}}
 
'''การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ''' หรือ '''ถ้วยพระจักรพรรดิ''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 天皇杯全日本サッカー選手権大会 หรือ 天皇杯 (เท็นโนไฮ), [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Emperor's Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น และเป็นการแข่งขันฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดของญี่ปุ่น มีประวัติย้อนไปตั้งแต่ ค.ศ. 1921 ก่อนการก่อตั้ง[[เจลีก]] [[ลีกฟุตบอลญี่ปุ่น]] JFL หรือ[[ลีกฟุตบอลญี่ปุ่น]] JSL โดยในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ทีมจากเกาหลี ไต้หวัน และบางครั้งแมนจูกัว สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้ด้วย ส่วนรายการของผู้หญิงนั้นคือ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดินี
 
== ภาพรวม ==
จุดประสงค์ของการแข่งขันฟุตบอลรายการนี้คือการหา "ทีมที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น" ในปัจจุบัน ทีมที่สังกัด[[สมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น]]ทั้งจาก [[เจลีก ดิวิชัน 1]] [[เจลีก ดิวิชัน 2]] [[เจลีก ดิวิชัน 3]] ทีมท้องถิ่น ทีมมหาวิทยาลัย ทีมโรงเรียนมัธยมปลายจากทั่วประเทศ สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้ จัดว่าเป็นถ้วยรางวัลระดับประเทศอันทรงเกียรติ ผู้ชนะเลิศจะได้รับสิทธิ์เข้าแข่งขัน[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]]ในฤดูกาลต่อไป
 
นับตั้งแต่ก่อตั้ง[[เจลีก]]ในปี 1992 สโมสรฟุตบอลอาชีพเริ่มโดดเด่นในรายการนี้ ถ้วยพระจักรพรรดิทำการแข่งขันแบบแพ้ตกรอบ จึงเป็นโอกาสที่ทีมสมัครเล่นจะเขี่ยทีมใหญ่ตกรอบและกำเนิดดาวดังขึ้นในวงการฟุตบอล โดยหนึ่งในเหตุการณ์ที่เป็นที่รู้จักกันคือเมื่อคราวที่โรงเรียนมัธยมปลายเขตฟุนะบะชิสามารถล้มแชมป์เจลีกปี 2003 อย่าง[[โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส]]ได้ในฤดูกาล 2003-04 ด้วยการยิงจุดโทษ<ref>[http://www.goal2002.com/2003/2003-1226-season-review.html <nowiki>[1]</nowiki>]</ref> ทั้งนี้ ทีมนอกลีกทีมสุดท้ายที่เคยได้แชมป์คือทีม[[มหาวิทยาลัยวะเซะดะ]]ที่คว้าถ้วยพระจักรพรรดิได้ในปี 1966
 
ในช่วงปี 1969 ถึงปี 2014 นัดชิงชนะเลิศถ้วยพระจักรรพรรดิจะจัดขึ้นในวันขึ้นปีใหม่ของปีต่อมาที่[[สนามกีฬาโอลิมปิก (โตเกียว)]] ตามธรรมเนียมถึงว่าเป็นแมตช์ปิดฤดูกาล
 
=== รูปแบบ ===
การแข่งขันเป็นแบบแพ้ตกรอบ โดยทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันคือทีมจาก[[เจลีก ดิวิชัน 1]] [[เจลีก ดิวิชัน 2]] แชมป์ภูมิภาค 47 ทีม (ประกอบไปด้วยทีมสมัครเล่น ตั้งแต่ทีม [[เจลีก ดิวิชัน 3]] ไปจนถึงทีมโรงเรียน) และ 1 ทีมที่ฝ่ายจัดการแข่งขันคัดเลือกมาจากทีมสมัครเล่น (มักจะเป็นทีมแชมป์มหาวิทยาลัย)
 
ทีมจาก [[เจลีก ดิวิชัน 1]] และ [[เจลีก ดิวิชัน 2]] จะได้รับสิทธิ์"บาย"เข้าไปเล่นรอบต่อไปเลย โดยในอดีต ทีมจาก [[เจลีก ดิวิชัน 1]] และแชมป์ของ [[เจลีก ดิวิชัน 2]] จะได้รับสิทธิ์ 1 "บาย" ส่วนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]]จะได้รับ 3 "บาย" แต่นับตั้งแต่ปี 2017 ทุกทีมจาก [[เจลีก ดิวิชัน 1]] และ [[เจลีก ดิวิชัน 2]] จะได้รับสิทธิ์ 1 "บาย"เท่ากัน
 
ทั้งนี้ ก่อนปี 2008 นั้น มี 48 ทีมที่เข้าร่วม 2 รอบแรก คือแชมป์ภูมิภาค 47 ทีม กับแชมป์มหาวิทยาลัยอีก 1 ทีม จากนั้น ทีมจากลีก JFL (ลีกสาม) และจาก 13 ทีมใน[[เจลีก ดิวิชัน 2]] จะเข้าร่วมในรอบที่ 3 และสุดท้าย ทีมจาก[[เจลีก ดิวิชัน 1]] จะเข้าร่วมในรอบที่ 4 ทำให้มีทั้งหมด 80 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน
 
== ทีมที่ประสบความสำเร็จสูงสุด ==
{| class="wikitable sortable" border="2" cellpadding="2" cellspacing="0" style="margin: 1em 1em 1em 0; font-size: 95%; background: #f9f9f9; border: 1px #aaa solid; border-collapse: collapse;"
!ทีม
!ชนะเลิศ
!รองชนะเลิศ
|-
|[[มหาวิทยาลัยเคโอ]]
|9
|4
|-
|มหาวิทยาลัยคังเซกักคุอิน
|7
|1
|-
|[[โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส]]
|7
|1
|-
|[[อุระวะ เรดไดมอนส์]]
|6
|4
|-
|[[โตเกียว เวอร์ดี้]]
|5
|3
|-
|[[กัมบะ โอซะกะ]]
|5
|2
|-
|[[คะชิมะแอนต์เลอส์]]
|5
|2
|-
|[[wikipedia:JEF_United_Ichihara_Chiba|JEF United Ichihara Chiba]]
|4
|2
|-
|[[มหาวิทยาลัยวะเซะดะ]]
|4
|2
|-
|[[ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ]]
|3
|11
|-
|[[มหาวิทยาลัยโตเกียว]]
|3
|1
|-
|[[เซเรซโซ โอซะกะ]]
|3
|8
|-
|[[โชนัน เบลมาเร]]
|3
|4
|-
|[[คะชิวะ เรย์โซล]]
|3
|3
|-
|[[มหาวิทยาลัยชูโอ]]
|2
|3
|-
|[[จูบิโล อิวะตะ]]
|2
|2
|-
|[[นะโงะยะ แกรมปัส]]
|2
|1
|-
|[[wikipedia:Yokohama_Flugels|Yokohama Flugels]]
|2
|1
|-
|[[wikipedia:Rijo_Shukyu_Football_Club|Rijo Shukyu Football Club]]
|2
|1
|-
|[[wikipedia:Kyoto_Sanga_F.C.|Kyoto Sanga F.C.]]
|1
|1
|-
|[[wikipedia:NKK_F.C.|NKK F.C.]]
|1
|1
|-
|[[เอฟซี โตเกียว]]
|1
|0
|-
|[[wikipedia:Astra_Club_(Tokyo)|Astra Club (Tokyo)]]
|1
|0
|-
|[[wikipedia:Kobe-Ichi_Junior_High_School_Club|Kobe-Ichi Junior High School Club]]
|1
|0
|-
|[[wikipedia:Nagoya_Shukyu-dan|Nagoya Shukyu-dan]]
|1
|1
|-
|[[wikipedia:Kyungsung_FC|Kyungsung FC]]
|1
|0
|-
|[[ชิมิซุ เอส-พัลส์]]
|1
|4
|-
|[[wikipedia:Tokyo_Soccer_Club|Tokyo Shukyu-dan]]
|1
|0
|-
|[[wikipedia:Tokyo_Old_Boys_Club|Tokyo Old Boys Club]]
|1
|0
|-
|[[wikipedia:Yawata_Steel_F.C.|Yawata Steel]]
|1
|3
|-
|[[wikipedia:Eidai_SC|Eidai Industries]]
|0
|1
|-
|[[มหาวิทยาลัยฮิโระชิมะ]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:Hosei_University|Hosei University]]
|0
|1
|-
|[[มหาวิทยาลัยโคเบะ]]
|0
|2
|-
|[[wikipedia:Kobun_Jr._Highschool|Kobun Jr. Highschool]]
|0
|1
|-
|[[มหาวิทยาลัยเกาหลี]]
|0
|1
|-
|[[มหาวิทยาลัยเคียวโตะ]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:Mikage_Shukudan|Mikage Shukudan]]
|0
|2
|-
|[[wikipedia:Osaka_Club|Osaka Club]]
|0
|3
|-
|[[wikipedia:Rikkyo_University|Rikkyo University]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:Sendai_Soccer_Club|Sendai Soccer Club]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:Tanabe_Pharmaceuticals|Tanabe Pharmaceuticals]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:University_of_Tsukuba|Tokyo Bunri University]]
|0
|1
|-
|[[มหาวิทยาลัยสึคุบะ]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:Yoshino_Club|Yoshino Club]]
|0
|1
|-
|[[wikipedia:Montedio_Yamagata|Montedio Yamagata]]
|0
|1
|-
|[[คะวะซะกิ ฟรอนตาเล]]
|0
|1
|}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}