ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาผู้ไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52:
 
ในที่นี้ขออธิบายเฉพาะเสียงที่แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน ดังนี้
* /ญ/ เป็นหน่วยเสียงพิเศษ ที่ไม่พบในภาษาไทยภาคกลาง และใต้ แต่พบได้ในภาษาไทยถิ่นอีสาน และเหนือ และใต้ (บางถิ่น) ในภาษาผู้ไท บางถิ่นผู้พูดใช้เสียง /ญ/ โดยตลอด บางถิ่นใช้ทั้งเสียง /ญ/ และ /ย/ โดยไม่แยกแยะคำศัพท์
 
=== หน่วยเสียงสระ ===
บรรทัด 93:
พยางค์ในภาษาผู้ไทมักจะเป็นพยางค์อย่างง่าย ดังนี้
* เมื่อประสมด้วยสระเสียงยาว พยางค์อาจประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ โดยจะมีพยัญชนะตัวสะกดหรือไม่ก็ได้
* เมื่อมีสระเสียงสั้น พยางค์ประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระ, วรรณยุกต์ และพยัญชนะตัวสะกด
 
== ลักษณะเด่นของภาษาผู้ไท ==