ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เปลี่ยนทางหน้าไป [[พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย#รายพระนามพระราชโ�
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
#เปลี่ยนทาง [[พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย#รายพระนามพระราชโอรสและพระราชธิดา]]
| name = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br>พระองค์เจ้าอินทนิล
| ภาพ =
| พระนาม =
| ฐานันดร = พระองค์เจ้า
| วันประสูติ = 10 ตุลาคม พ.ศ. 2347
| วันสิ้นพระชนม์ = 6 มีนาคม พ.ศ. 2415 (69 ปี)
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 2
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
| พระมารดา = [[เจ้าจอมมารดาศิลา ในรัชกาลที่ 2|เจ้าจอมมารดาศิลา]]
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
 
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล''' (10 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2415) พระราชธิดาพระองค์ที่ 42 ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ที่ประสูติแต่[[เจ้าจอมมารดาศิลา ในรัชกาลที่ 2|เจ้าจอมมารดาศิลา]]
 
==พระประวัติ==
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิลประสูติวันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2347<ref name="ราชสกุลวงศ์">{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 28}}</ref> เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ที่ประสูติแต่[[เจ้าจอมมารดาศิลา ในรัชกาลที่ 2|เจ้าจอมมารดาศิลา]] ธิดาขรัวยายฟักทอง ณ บางช้าง มีพระอนุชาพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดา 5 พระองค์
 
ในสมัยรัชกาลที่ 3 หลังเสร็จการปราบ[[กบฏเจ้าอนุวงศ์]]แล้ว [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร]] พร้อมพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันอีก 4 พระองค์ คือ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษ์เทเวศร์]], [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์]] พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล และ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวงศ์]] มีพระประสงค์ที่จะร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแหลม พร้อมทั้งทรงสร้างพระเจดีย์เรียงรายไว้หน้าวัด 5 องค์ ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า ''วัดเบญจบพิตร'' หมายความว่า วัดของเจ้านาย 5 พระองค์<ref name="สกุลไทย">จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=3131&stissueid=2598&stcolcatid=2&stauthorid=13 วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม], สกุลไทย, ฉบับที่ 2598, ปีที่ 50, ประจำวันอังคารที่ 3 สิงหาคม 2547</ref>
 
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิลสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2415 พระชันษา 69 ปี<ref name="ราชสกุลวงศ์"/>
 
== พระอิสริยยศ ==
* หม่อมเจ้าอินทนิล (10 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - พ.ศ. 2349)
* พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอินทนิล (พ.ศ. 2349 - 7 กันยายน พ.ศ. 2352)
* พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าอินทนิล (7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367)
* พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอินทนิล (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394)
* พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าอินทนิล (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411)
* พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2415)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{พระราชธิดาราชวงศ์จักรี}}
{{เรียงลำดับ|อินทนิล}}
{{เกิดปี|2347}}{{ตายปี|2415}}
[[หมวดหมู่:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 2]]
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้า]]
[[หมวดหมู่:พระราชธิดาในรัชกาลที่ 2]]
[[หมวดหมู่:สกุล ณ บางช้าง]]