ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูทูบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sli20Tw7N96mrv (คุย | ส่วนร่วม)
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
 
== การปิดกั้นข่าวสารในประเทศไทย ==
ผู้ใช้ใน[[ประเทศไทย]]ได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ยูทูบ ตั้งแต่คืนวันที่ [[3 เมษายน]] [[พ.ศ. 2550]] หลังจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว [[สิทธิชัย โภไคยอุดม|นายสิทธิชัย โภไคยอุดม]] [[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] พยายามขอความร่วมมือหลายครั้ง ให้กูเกิลนำคลิปวิดีโอตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ออก แต่ถูกปฏิเสธโดยได้ให้เหตุผลว่าคลิปวิดีโออื่นที่โจมตีประธานาธิบดี[[จอร์จ ดับเบิลยู. บุช]] รุนแรงมากกว่านี้ ซึ่งคลิปวิดีโอดังกล่าว อัปโหลดโดยผู้ใช้ชื่อ paddidda เมื่อวันที่ [[29 มีนาคม]] พ.ศ. 2550 มีผู้ชมไปแล้ว มากกว่า 16,000 ครั้ง และมีมากกว่า 500 ความคิดเห็นด้วยกัน <ref>[http://www.reuters.com/article/companyNewsAndPR/idUSN0432594820070404?pageNumber=1 Thailand blocks YouTube for clip mocking king] ข่าวจากสำนักข่าวรอยเตอร์ {{en icon}}</ref> <ref>[http://www.bangkokpost.com/topstories/topstories.php?id=117871 YouTube disappears from Thai Internet] ข่าวจากบางกอกโพสต์ {{en icon}}</ref> หลังจากที่ได้มีการออกข่าว จำนวนผู้ชมไปขึ้นไปถึงกว่า 66,553 ครั้งก่อนที่คลิปวิดีโอดังกล่าวจะถูกย้ายออกจากระบบ แม้ว่าคลิปวิดีโอได้ถูกเอาออกไปแล้ว แต่เว็บไซต์ยังคงถูกบล็อกต่อไป โดยนายสิทธิชัย โภไคยอุดมได้ให้เหตุผลว่ายังมีภาพตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์คงเหลืออยู่ และต้องการให้เอาออกทั้งหมด<ref>[http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2007/04/05/AR2007040500694.html YouTube Clip Out, but Thai Ban Continues ] {{en icon}}</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9500000039464 Update - ยูทูบลบคลิปแล้ว แต่ไอซีทียังแบนเว็บไซต์ต่อเนื่อง]</ref> ในปัจจุบัน (วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550) ได้มีการยกเลิกบล็อกยูทูปทูบ จนสามารถใช้งานได้ตามปกติแล้ว หลังจากที่ยูทูบตกลงที่จะบล็อกวิดีโอที่มีการหมิ่นประมาทในไทยต่างๆ
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ยูทูบ"