ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kingkong008 (คุย | ส่วนร่วม)
Kingkong008 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15:
 
''' สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ''' ตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. ๒๕๑๔ <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/A/043/103.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514 ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 88 ตอนที่ 43 วันที่ 23 เมษายน 2514]</ref> จากการรวม [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี|วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ|วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ]] และ [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี]] ในสังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เข้าด้วยกัน โดยได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามภาษาไทย "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า" และภาษาอังกฤษ "King Mongkut's Institute of Technology" เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 <ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=2</ref> และอัญเชิญตรา "พระมหามงกุฏ" มาเป็นสัญลักษณ์แห่งสถาบัน โดยเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญา ให้การศึกษาทั้งระดับปริญญา และระดับต่ำกว่าปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งนี้สถาบันเป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ
 
นอกจากวิทยาลัยทั้งสามแห่งแล้ว เมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้รวม วิทยาลัยวิชาการก่อสร้างบางพลัด เข้ากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/D/094/1621.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้วิทยาลัยวิชาการก่อสร้างรวมเข้ากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า]</ref> (ซึ่งถูกรวมเข้ากับวิทยาเขตลาดกระบังและทำให้วิทยาเขตธนบุรียุติการรับนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 และจัดตั้งเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในปีการศึกษา 2516 ปัจจุบันคณะดังกล่าวอยู่ในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง <ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=2</ref>) ต่อมาเมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2517 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าถูกโอนไปสังกัด[[ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/A/112/23.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 91 ตอนที่ 112 ฉบับพิเศษ</ref> ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นทบวงมหาวิทยาลัย จากการขยายตัวของสถาบันอย่างรวดเร็ว จึงมีการปรับโครงสร้างตามมาหลายครั้ง กระทั่งมีมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ฉบับที่ 3<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/055/36.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒]</ref>เมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2522
 
=== กำหนดการแบ่งส่วนราชการออกเป็น ===
เส้น 136 ⟶ 138:
 
=== การแยกสถาบัน ===
 
นอกจากวิทยาลัยทั้งสามแห่งแล้ว เมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้รวมวิทยาลัยวิชาการก่อสร้างบางพลัด เข้ากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/D/094/1621.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้วิทยาลัยวิชาการก่อสร้างรวมเข้ากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า]</ref> (ซึ่งถูกรวมเข้ากับวิทยาเขตลาดกระบังและทำให้วิทยาเขตธนบุรียุติการรับนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 และจัดตั้งเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในปีการศึกษา 2516 ปัจจุบันคณะดังกล่าวอยู่ในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง <ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=2</ref>) ต่อมาเมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2517 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าถูกโอนไปสังกัด[[ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/A/112/23.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 91 ตอนที่ 112 ฉบับพิเศษ</ref> ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นทบวงมหาวิทยาลัย จากการขยายตัวของสถาบันอย่างรวดเร็ว จึงมีการปรับโครงสร้างตามมาหลายครั้ง กระทั่งมีมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ฉบับที่ 3<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/055/36.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒]</ref>เมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2522
 
=== การแยกสถาบัน ===
จุดเริ่มต้นการแยกเป็นสามสถาบันเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2524 ในการสรรหาอธิการบดีใหม่ เนื่องจากทั้งสามวิทยาเขตมีความแตกต่างกันหลายประการ ทั้งความเป็นมา ปรัชญา และวิธีการจัดการศึกษา<ref name="kmuttlb1"/> และมีปัญหาในการสรรหาสรรหาอธิการบดีคนใหม่<ref name="kmuttlb1">http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=4</ref> เมื่อตำแหน่งอธิการบดีว่างลงใน พ.ศ. 2526 จึงให้รองอธิการบดีประจำวิทยาเขตผลัดกันเป็นผู้รักษาการแทนอธิการบดี คนละ 3 เดือนไปพลางก่อน ระหว่างที่ข้อเสนอเพื่อแยกวิทยาเขตออกจากกันเป็นอิสระโดยออกเป็นกฎหมายอยู่ระหว่างการพิจารณา<ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=5</ref> กระบวนการนี้ยืดเยื้อยาวนาน เพราะมีการเสนอโครงสร้างหลายรูปแบบ แม้กฎหมายผ่านสภาผู้แทนราษฎรไปแล้วแต่วุฒิสภากลับไม่รับหลักการ<ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=5 ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ 10/2528 (สมัยสามัญ)</ref> ในที่สุดพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2529<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/A/026/1.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ๒๕๒๘] ราชกิจจานุเบกษา</ref> เป็นจุดสิ้นสุดของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าที่มีอายุเกือบ 15 ปี และทำให้เกิดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ที่เป็นอิสระต่อกันสามแห่งได้แก่