ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kingkong008 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kingkong008 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
'''สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า''' เป็นอดีต[[สถาบันอุดมศึกษา]]ของรัฐ เคยมีสถานะเป็น[[กรม]]ใน[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2514 โดยการรวมวิทยาลัย 3 แห่งเข้าด้วยกัน คือ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี รวมทั้งมีวิทยาลัยอีกหนึ่งแห่งเข้ามาสมทบภายหลัง คือ วิทยาลัยก่อสร้างบางพลัด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ด้วยความแตกต่างของวิทยาเขตและวิกฤตการบริหารงาน จึงได้แยกออกเป็นเป็นสถาบันอุดมศึกษาอิสระสามแห่งใน พ.ศ. 2529 รวมอายุสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นเอกเทศได้ 15 ปี ในระหว่างนี้มีอธิการบดีดำรงแหน่งสองคน โดยในช่วงบั้นปลายที่มีวิกฤตการบริหาร รองอธิการบดีประจำวิทยาเขตผลัดเปลี่ยนกันรักษาการตำแหน่งอธิการบดี
 
== ประวัติ ==
 
''' สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ''' ตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. ๒๕๑๔ <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/A/043/103.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514 ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 88 ตอนที่ 43 วันที่ 23 เมษายน 2514]</ref> จากการรวม วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี ในสังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เข้าด้วยกัน โดยได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนาม "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า" และอัญเชิญพระตรา "พระมหามงกุฏ" มาเป็นสัญลักษณ์แห่งสถาบัน โดยเป็นสถาบันศึกษาและวิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญา ให้การศึกษาทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ สถาบันเป็นนิติบุคคลมีฐานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ
 
 
=== กำหนดการแบ่งส่วนราชการออกเป็น ===
โดย ''' สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ''' รวมจาก วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี ในสังกัดกรมอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ เข้าด้วยกัน เป็นสถาบันศึกษาและวิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญา ให้การศึกษาทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ สถาบันเป็นนิติบุคคลมีฐานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ
 
 
กำหนดการแบ่งส่วนราชการออกเป็น
(๑) สำนักงานอธิการบดี
 
(๒) คณะ
 
เส้น 47 ⟶ 46:
 
 
=== การจัดการศึกษา ===
 
การจัดการศึกษาของสถาบันแบ่งออกเป็น ๓ ระดับ
 
บรรทัด 73:
 
 
ฉะนั้น=== ปัจจุบันได้จัดการการบริหารงานของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ดังต่อไปนี้===
 
๑. สำนักงานอธิการบดี จัดแบ่งสายงานการดำเนินงานดังนี้
บรรทัด 111:
ผู้ศึกษาครบตามหลักสูตร ๒ ปี จะได้รับปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต ใช้อักษรย่อว่า สถ.บ. (B.Arch.)
 
ภาควิชาครุศาสตร์นนทบุรี เปิดสอนสาขาวิชา
- ไฟฟ้าโทรคมนาคม
- สถาปัตยกรรม
บรรทัด 118:
ผู้ศึกษาครบหลักสูตร ๒ ปี จะได้รับปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ใช้อักษรย่อว่า ค.อ.บ. (B.S.I.Ed.)
 
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/A/043/103.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514 ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 88 ตอนที่ 43 วันที่ 23 เมษายน 2514]</ref> โดยให้รวม[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ|วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี]] และ[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี|วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี]] เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า" และภาษาอังกฤษ "King Mongkut's Institute of Technology" เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2514<ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=2</ref>
 
นอกจากวิทยาลัยทั้งสามแห่งแล้ว เมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้รวมวิทยาลัยวิชาการก่อสร้างเข้ากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/D/094/1621.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้วิทยาลัยวิชาการก่อสร้างรวมเข้ากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า]</ref> (ซึ่งถูกรวมเข้ากับวิทยาเขตลาดกระบังและทำให้วิทยาเขตธนบุรียุติการรับนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 และจัดตั้งเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในปีการศึกษา 2516 ปัจจุบันคณะดังกล่าวอยู่ในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<ref>http://archive.lib.kmutt.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=169%3A2010-01-19-13-10-23&catid=47%3A2010-01-19-13-06-25&Itemid=66&limitstart=2</ref>) ต่อมาเมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2517 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าถูกโอนไปสังกัด[[ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/A/112/23.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 91 ตอนที่ 112 ฉบับพิเศษ</ref> ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นทบวงมหาวิทยาลัย จากการขยายตัวของสถาบันอย่างรวดเร็ว จึงมีการปรับโครงสร้างตามมาหลายครั้ง กระทั่งมีมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ฉบับที่ 3<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/055/36.PDF พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒]</ref>เมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2522