ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kingkong008 (คุย | ส่วนร่วม)
Kingkong008 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
}}
 
'''สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า''' เป็นอดีต[[สถาบันอุดมศึกษา]]ของรัฐ เคยมีสถานะเป็น[[กรม]]ใน[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2514 โดยการรวมวิทยาลัยสาม 3 แห่งเข้าด้วยกัน คือ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี รวมทั้งมีวิทยาลัยอีกหนึ่งแห่งเข้ามาสมทบภายหลัง คือ วิทยาลัยก่อสร้างบางพลัด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ด้วยความแตกต่างของวิทยาเขตและวิกฤตการบริหารงาน จึงได้แยกออกเป็นเป็นสถาบันอุดมศึกษาอิสระสามแห่งใน พ.ศ. 2529 รวมอายุสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นเอกเทศได้ 15 ปี ในระหว่างนี้มีอธิการบดีดำรงแหน่งสองคน โดยในช่วงบั้นปลายที่มีวิกฤตการบริหาร รองอธิการบดีประจำวิทยาเขตผลัดเปลี่ยนกันรักษาการตำแหน่งอธิการบดี
 
== ประวัติ ==
 
''' สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ''' ตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนาม "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า" และอัญเชิญพระตรา "พระมหามงกุฏ" มาเป็นสัญลักษณ์แห่ง มาเป็นสัญลักษณ์แห่งสถาบัน
 
ให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี ซึ่งสังกัดกรมอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาเข้าด้วยกัน เป็นสถาบันศึกษาและวิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญา ให้การศึกษาทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ สถาบันเป็นนิติบุคคลมีฐานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ
 
ให้ โดย ''' สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ''' รวมจาก วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี ซึ่งในสังกัดกรมอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาศึกษาธิการ เข้าด้วยกัน เป็นสถาบันศึกษาและวิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญา ให้การศึกษาทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ สถาบันเป็นนิติบุคคลมีฐานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ
 
 
กำหนดการแบ่งส่วนราชการออกเป็น
(๑) สำนักงานอธิการบดี
(๒) คณะ
 
 
สำนักงานอธิการบดี อาจแบ่งส่วนราชการออกเป็นกองและแผนก
คณะ แบ่งส่วนราชการออกเป็นภาควิชาและสำนักงานเลขานุการ
สำนักงานเลขนุการคณะ อาจแบ่งส่วนราชการออกเป็นแผนก
 
 
การดำเนินงานของสถาบัน มีสภาสถาบันเป็นผู้ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของสถาบัน
เส้น 27 ⟶ 34:
และกรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งมีจำนวนไม่น้อยกว่าสี่คน แต่ไม่เกินเก้าคน
หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี เป็นกรรมการและเลขานุการสภาสถาบัน
 
 
การบริหารงานของสถาบัน มีอธิการบดีเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบในการบริหารงานของสถาบัน
เส้น 37 ⟶ 45:
ให้มีกรรมการประจำคณะประกอบ ด้วยคณบดีเป็นประธานกรรมการ รองคณบดี และหัวหน้าภาควิชาในคณะนั้นเป็นกรรมการ หรือเป็นกรรมการเพิ่มเติมให้ได้จำนวน ๔ คน
ให้คณะกรรมการตั้งผู้หนึ่งผู้ใดเป็นเลขานุการกรรมการประจำคณะ ซึ่งสภาสถาบันแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสองปี แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่อีกได้
 
 
การจัดการศึกษา
เส้น 49 ⟶ 58:
 
๓. ระดับปริญญา รับผู้สำเร็จการศึกษาจากระดับที่สอง คือระดับวิชาชีพชั้นสูง เข้าศึกษาหลักสูตร ๒ ปี
 
 
การศึกษาทั้งสามระดับมีหลักสูตรจบในตัวแต่ละระดับ เพื่อผู้สำเร็จจะได้ออกไปประกอบอาชีพได้ หากผู้ใดประสงค์จะศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไปก็ย่อมทำได้โดยสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบัน ทั้งนี้เพราะต้องการผู้มีสติปัญญาและผลการเรียนดีพอ เนื่องจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าได้รวมวิทยาลัย ๓ แห่งเข้ามาเป็นสถาบันสถานศึกษาทั้ง ๓ แห่ง มีที่ตั้งแยกออกไปเป็นแต่ละแห่งห่างไกลกัน
เส้น 61 ⟶ 71:
 
ฉะนั้น แม้จะได้รวมสถานศึกษาทั้ง ๓ แห่งเข้าเป็นสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตามกฎหมายแล้วก็ตาม แต่การดำเนินงานก็ต้องแยกกันทำ สถานที่ตั้งก็ยังแยกกันอยู่ตามเดิม เพราะทั้ง ๓ แห่งได้วางรากฐานไว้มั่นคงแล้ว จึงไม่อาจรวมงานให้เป็นที่เดียวกันได้
 
 
ฉะนั้น ปัจจุบันได้จัดการบริหารงานของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ดังต่อไปนี้
 
๑. สำนักงานอธิการบดี จัดแบ่งสายงานการดำเนินงานดังนี้
- กองกลาง ดำเนินงานด้านธุรการเกี่ยวกับการประสานงานทั่วไป เกี่ยวกับระเบียบข้าราชการ ระเบียนนักศึกษา