ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบดาวฤกษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
ระบบดาวหลายดวงที่รู้จักโดยมากจะเป็นระบบดาว 3 ดวง ระบบที่มีดาวมากกว่านั้นจะมีจำนวนน้อยลงอย่างมากตามจำนวนดาวสมาชิกในลักษณะของ[[เอกซ์โพเนนเชียล]]<ref name="tok1">[http://www.aip.de/IAU200/proc/tokovinin.ps.gz Statistics of multiple stars: some clues to formation mechanisms], A. Tokovinin, in the proceedings of IAU Symposium 200, The Formation of Binary Stars, Potsdam, Germany, April 10-15, 2000. Bibcode [http://adsabs.harvard.edu/abs/2001IAUS..200...84T 2001IAUS..200...84T].</ref> ตัวอย่างเช่น ใน[[รายการดาวของโทโควินิน]]ฉบับปรับปรุงปี ค.ศ. 1999<ref name="tokc" /> ในระบบดาวทั้งสิ้น 728 ระบบเป็นระบบดาว 3 ดวงถึง 551 ระบบ อย่างไรก็ดี เนื่องจากการเลือกศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ความรู้ของเราเกี่ยวกับค่าทางสถิติเหล่านี้อาจจะไม่สมบูรณ์ก็ได้<ref>[http://adsabs.harvard.edu/abs/2004RMxAC..21....7T Statistics of multiple stars], A. Tokovinin, in The Environment and Evolution of Double and Multiple Stars, Proceedings of IAU Colloquium 191, held 3-7 February, 2002 in Merida, Yucatan, Mexico, edited by Christine Allen and Colin Scarfe, ''Revista Mexicana de Astronomía y Astrofísica (Serie de Conferencias)'' '''21''' (August 2004), pp. 7-14.</ref>
 
ผลจากความไม่คงที่ทางพลศาสตร์ดังได้กล่าวถึงแล้วข้างต้น ระบบดาวสามดวงโดยมากจะเป็นแบบ ''hierarchical'' โดยจะมีดาวอยู่คู่หนึ่งที่อยู่ห่างจากดาวอีกดวงหนึ่งในระบบออกไปไกล ยิ่งระบบที่มีจำนวนดาวสมาชิกมากขึ้นก็จะยิ่งมีความเป็น ''hierarchical'' มากขึ้นด้วย<ref name="tok1" /> ระบบดาว 6 ดวงที่เรารู้จักคือ [[ดาวคาสตอร์แคสเตอร์]] (อัลฟาแอลฟาคนคู่) มีดาวคู่หนึ่งโคจรอยู่ห่างจากดาวอีกสองคู่<ref name="castor">[http://adsabs.harvard.edu/abs/2003A%26A...402..719S Castor A and Castor B resolved in a simultaneous Chandra and XMM-Newton observation], B. Stelzer and V. Burwitz, ''Astronomy and Astrophysics'' '''402''' (May 2003), pp. 719-728.</ref> ระบบดาว 6 ดวงอีกระบบหนึ่งคือ ADS 9731 มีกลุ่มของดาวสามดวงอยู่จำนวน 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีดาวคู่หนึ่งโคจรรอบกันกับดาวเดี่ยว<ref name="ads9731">[http://adsabs.harvard.edu/abs/1998AstL...24..795T ADS 9731: A new sextuple system], A. A. Tokovinin, N. I. Shatskii, and A. K. Magnitskii, ''Astronomy Letters'', '''24''', #6 (November 1998), pp. 795-801.</ref>
 
== อ้างอิง ==