ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัทพจน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''สัทพจน์''' หรือ '''การเลียนเสียงธรรมชาติ''' คือ[[คำ]]ที่เลียนรูปแบบทาง[[สัทศาสตร์]]ของแหล่งกำเนิดเสียงที่พยายามจะกล่าวถึง สัทพจน์เป็นโวหารภาพพจน์อย่างหนึ่งที่ใช้ตัวอักษรสะกดให้ออกเสียงให้คล้ายกับเสียงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือที่ได้ยินทั่วไปมากที่สุด สัทพจน์ที่สามารถพบได้บ่อยคือการเลียนเสียงสัตว์เช่น เหมียว จิ๊บๆ เป็นต้น สัทพจน์อาจจะไม่เหมือนกันในแต่ละภาษา เนื่องจากระบบทาง[[ภาษาศาสตร์]]เป็นตัวควบคุมลักษณะของสัทพจน์ อาทิ เสียงของนาฬิกา เมื่อเลียนเสียงแล้ว คือ''ติ๊กต๊อก''ใน[[ภาษาไทย]], ''dī dā'' ใน[[ภาษาจีนกลาง]] หรือ ''katchin katchin'' ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]
 
สัทพจน์ในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า onomatopoeia ส่วนคำว่าสัทพจน์หรือสัทพจน์โวหารเองในภาษาไทยยังใช้ไม่จังหวัดแพร่หลายและเข้าใจกันในหมู่ผู้มีการศึกษาหรือนักเรียนรุ่นใหม่เท่านั้น
 
==ตัวอย่าง==
* ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ<br />ลูกนกร้องจิ๊บๆๆ<br />ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ<br />เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าร้อง<br />ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก<br />กระเดื่องดังแทรกสำรวลสรวลสันต์<br />คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง<br />บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว<br />อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง<br />เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย<br />กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย<br />ป๊ะโท่นป๊ะโท่นป๊ะโท่นโท่น <ref>http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nontaburi/anuchit_p/vohan/sec02p03.html</ref>
* ลูกหมาร้องเอ๋งๆ
* ลูกนกร้องจิ๊บๆ
* ลูกแมวร้องเหมียวๆ
* เปรี้ยงๆ ดังเสียงฟ้าร้อง
* ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก
* กระเดื่องดังแทรกสำรวลสรวลสันต์
* คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง
* บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว
* อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง
* เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย
* กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย
* ป๊ะโท่นป๊ะโท่นป๊ะโท่นโท่น <ref>http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nontaburi/anuchit_p/vohan/sec02p03.html</ref>
* บ้างกอบปรายเบี้ยโปรยอยู่โกรยกราว <ref>ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทยปี 2551</ref>