ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมหลวงพิพิธมนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อ้างอิงหน้า 88 มีแต่เรื่องสงครามกับพม่า
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธย =
| พระปรมาภิไธยนามาภิไธย = พลับ
| พระนาม = พระพันวสาน้อย
| วันประสูติ = ไม่ปรากฏ
| วันสิ้นพระชนม์ =พ.ศ. 2301
บรรทัด 14:
| พระอัครมเหสี =
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]
| พระราชโอรส/ธิดาราชบุตร = 8 พระองค์
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
บรรทัด 26:
 
==พระประวัติ==
บัญชีพระนามเจ้านาย ใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]] ระบุว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ พระพันวษาน้อย มีพระนามเดิมว่า'''พลับ''' เป็นบุตรีนายทรงบาศก์ขวากรมช้าง (ต่อมาคือ[[นายจบคชประสิทธิ์]]) ซึ่งมีตำแหน่งเป็นพระบำเรอภูธร กับมารดาซึ่งเป็นสตรีเชื้อสายพราหมณ์บ้านสมอปลือ เมืองเพชรบุรี มีพระเชษฐภคินีพระองค์หนึ่งคือ[[กรมหลวงอภัยนุชิต|พระองค์ขาว]] ซึ่งได้เป็นพระชายาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นพระบัณฑูรน้อย ส่วนพระองค์พลับต่อมาก็ได้เป็นพระชายารองในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเช่นกัน ในระหว่างทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] พระองค์พลับมีพระราชโอรส 2 พระองค์ และพระราชธิดา 6 พระองค์ ตามลำดับตั้งนี้<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623-624</ref>
# เจ้าฟ้าหญิงสิริประชา (หรือเจ้าฟ้าประชาวดี)
# เจ้าฟ้าหญิงสิริประภา (หรือเจ้าฟ้าประภาวดี)
บรรทัด 37:
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าเมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2275 ได้แต่งตั้งพระชายารองเป็น'''กรมหลวงพิพิธมนตรี'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 356</ref> ในตำแหน่งพระอัครมเหสีน้อย จึงออกพระนามว่า'''พระพันวษาน้อย'''
 
แรม 5 ค่ำ เดือน 6 พ.ศ. 2301 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประชวรหนักใกล้สวรรคต กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (เจ้าฟ้าชายอุทุมพร) โปรดให้ทูลเชิญกรมหลวงพิพิธมนตรี เจ้าฟัาจันทวดีเจ้าฟ้าจันทวดี และกรมขุนยี่สารเสนี ไปประทับ ณ พระตำหนักสวนกระต่าย<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 368</ref> เมื่อสวรรคตแล้ว กรมพระราชวังบวรสถานมงคลถก็จึงขึ้นสืบราชสมบัติ แต่ได้เพียง 10 วัน ก็ถวายราชสมบัติแก่กรมขุนอนุรักษ์มนตรี แล้วเสด็จออกผนวช ส่วนกรมขุนอนุรักษ์มนตรีขึ้นครองราชย์เฉลิมพระนามว่า''สมเด็จพระบรมราชา'' แล้วโปรดให้ตั้งพระราชชนนีเป็น '''กรมพระเทพามาตุ''' แต่พอเมื่อถึงเดือน 12 พระราชชนนีก็เสด็จสวรรคต จึงโปรดให้ตั้งพระโกศไว้คู่กับพระบรมโกศพระบรมราชชนก ณ [[พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์]] แล้วถวายพระเพลิงทั้งสองพระองค์พร้อมกันในวันขึ้น 11 ค่ำ เดือน 5 พ.ศ. 2303<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 371</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==