ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมหลวงพิพิธมนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| วันประสูติ = ไม่ปรากฏ
| วันสิ้นพระชนม์ =พ.ศ. 2301
| พระอิสริยยศ = [[กรมพระเทพามาตย์|กรมพระเทพามาตุ]]
| ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้าต่างกรม]]
| พระบิดา = [[นายจบคชประสิทธิ์]]
บรรทัด 23:
| รัชกาลถัดมา =
}}
'''กรมพระเทพามาตุ''' มีพระอิสริยยศเดิมว่า '''กรมหลวงพิพิธมนตรี''' เป็นพระมเหสีรองอัครมเหสีน้อย<ref>''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย', หน้า 172</ref>ใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] และเป็น[[สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง]]ใน[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ]]และ[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]
 
==พระประวัติ==
บัญชีพระนามเจ้านาย ใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]] ระบุว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ พระพันวสาน้อยวษาน้อย มีพระนามเดิมว่า'''พลับ''' เป็นบุตรีนายทรงบาศก์ขวากรมช้าง (ต่อมาคือ[[นายจบคชประสิทธิ์]]) ซึ่งมีตำแหน่งเป็นพระบำเรอภูธร กับมารดาซึ่งเป็นสตรีเชื้อสายพราหมณ์บ้านสมอพลือปลือ เมืองเพชรบุรี<ref>[http://www.sujitwongthes.com/wp-content/uploads/2014/02/petchburi-15.pdf 15มีพระเชษฐภคินีพระองค์หนึ่งคือพระองค์ขาว หลัง พ.ศ. 2200 พราหมณ์เมืองเพชรบุรี ในราชสำนัก]</ref> เมื่อซึ่งได้เป็นพระมเหสีพระชายาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นพระบัณฑูรน้อย จึงส่วนพระองค์พลับต่อมาก็ได้ทรงกรมเป็นพระชายารองในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเช่นกัน ในระหว่างทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น[[กรมหลวงพิพิธมนตรีพระราชวังบวรสถานมงคล]] พระองค์พลับมีพระราชโอรส 2 พระองค์ และพระราชธิดา 6 พระองค์ คือตามลำดับตั้งนี้<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623-624</ref>
*# เจ้าฟ้าประภาหญิงสิริประชา (หรือเจ้าฟ้าประชาวดี)
*# เจ้าฟ้าประชาหญิงสิริประภา (หรือเจ้าฟ้าประภาวดี)
*# เจ้าฟ้าหญิงอินทวดี (หรือ[[เจ้าฟ้าพินทวดี]])
# เจ้าฟ้าหญิงกษัตรีย์
* [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร|เจ้าฟ้าเอกทัศน์]] (กรมขุนอนุรักษ์มนตรี )
# เจ้าฟ้าชายเอกทัศน์ กรมขุนอนุรักษ์มนตรี (คือ[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]])
* เจ้าฟ้าจันทวดี
# เจ้าฟ้าหญิงบัวจัน (หรือเจ้าฟ้าจันทรวดี)
* เจ้าฟ้ากษัตรี
*# เจ้าฟ้ากุสุมาวดีหญิงนวน (หรือเจ้าฟ้านุ่ม)
*# [[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์|เจ้าฟ้าดอกเดื่อ]]ชายอุทุมพรราชกุมาร (กรมขุนพรพินิต ([[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]])
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าเมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2275 ได้แต่งตั้งพระชายารองเป็น'''กรมหลวงพิพิธมนตรี'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 356</ref> ในตำแหน่งพระอัครมเหสีน้อย จึงออกพระนามว่า'''พระพันวษาน้อย'''<ref>สุเนตร ชุตินธรานนท์. ดร. '''พม่ารบไทย'''. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ:มติชน, 2554. หน้า 88</ref>
 
แรม 5 ค่ำ เดือน 6 พ.ศ. 2301 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประชวรหนักใกล้สวรรคต กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (เจ้าฟ้าชายอุทุมพร) โปรดให้ทูลเชิญกรมหลวงพิพิธมนตรี เจ้าฟัาจันทวดี และกรมขุนยี่สารเสนี ไปประทับ ณ พระตำหนักสวนกระต่าย<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 368</ref> เมื่อสวรรคตแล้ว กรมพระราชวังบวรสถานมงคลถก็ขึ้นสืบราชสมบัติได้เพียง 10 วัน ก็ถวายราชสมบัติแก่กรมขุนอนุรักษ์มนตรี แล้วเสด็จออกผนวช ส่วนกรมขุนอนุรักษ์มนตรีขึ้นครองราชย์เฉลิมพระนามว่าสมเด็จพระบรมราชา แล้วโปรดให้ตั้งพระราชชนนีเป็น '''กรมพระเทพามาตุ''' แต่พอถึงเดือน 12 พระราชชนนีก็เสด็จสวรรคต จึงโปรดให้ตั้งโกศไว้คู่กับโกศพระบรมราชชนก ณ [[พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์]] แล้วถวายพระเพลิงทั้งสองพระองค์พร้อมกันในวันขึ้น 11 ค่ำ เดือน 5 พ.ศ. 2303<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 371</ref>
โดยเฉพาะเจ้าฟ้าดอกเดื่อหรือกรมขุนพรพินิตนั้น ปรากฏว่าเข้มแข็งในการสงครามเป็นอย่างยิ่ง เมื่อ[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]]ซึ่งเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ต้องรับพระอาญาจากการโบยถึง 180 ที สูญสิ้นพระชนม์นั้น ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็ควรจะตกอยู่กับกรมขุนอนุรักษ์มนตรีผู้เป็นพระเชษฐา ตามคำกราบทูลของกรมขุนพรพินิต แต่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศกลับตรัสว่ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีนั้นโฉดเขลา หาสติปัญญาและความเพียรมิได้ กลับทรงแต่งตั้งให้กรมขุนพรพินิตเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และให้กรมขุนอนุรักษ์มนตรี (เจ้าฟ้าเอกทัศน์) ไปบวชเสียที่วัดลมุตปากจั่น เพื่อมิให้ขัดขวางกรมขุนพรพินิตนั้น ในขณะที่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศประชวรหนักอยู่ ก็ให้ไปเชิญกรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมารดาและพระบรมวงศานุวงศ์มาอยู่พร้อมกันสิ้น รวมทั้งเจ้าฟ้าเอกทัศน์ก็ทูลลาผนวช เสด็จลงมาอยู่ด้วยเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศประชวรสิ้นพระชนม์ ราชสมบัติจึงตกอยู่แก่กรมขุนพรพินิต (เจ้าฟ้าดอกเดื่อ-อุทุมพร) แต่กรมขุนพรพินิตครองราชย์ได้เพียง 10 วัน ก็ต้องมอบราชสมบัติให้แก่พระเชษฐา คือ กรมขุนอนุรักษ์มนตรี)<ref>สุเนตร ชุตินธรานนท์. ดร. '''พม่ารบไทย'''. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ:มติชน, 2554. หน้า 88</ref> กรมขุนอนุรักษ์มนตรี หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์ได้ราชสมบัติ จึงโปรดให้ตั้งกรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมารดาเป็น '''สมเด็จพระพันปีหลวง กรมพระเทพามาตย์'''
 
== ดูเพิ่ม ==
เมื่อสมเด็จพระพันปีหลวง กรมพระเทพามาตย์ทรงพระประชวรหนัก เสด็จสวรรคต สมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์จึงให้แต่งพระศพใส่พระโกศ แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนพระที่นั่งบรรยงก์รัตนอาสน์ เคียงกันเป็นสองพระโกศ<ref>จรรยา ประชิตโรมรัน. (2547). '''การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐'''. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 185</ref>
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
; บรรณานุกรม
== {{เริ่มอ้างอิง ==}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา}}
เส้น 47 ⟶ 54:
{{เรียงลำดับ|พิพิธมนตรี}}
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งราชอาณาจักรไทย]]
[[หมวดหมู่:กรมพระเทพามาตย์]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา]]