ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขนาดความกว้างรางรถไฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{หัวข้อรถไฟ}}
 
'''ขนาดความกว้างรางรถไฟ''' ({{lang-en|rail gauge หรือ track gauge}}) หรือเรียกอย่างง่ายว่า '''เกจ''' คือระยะห่างของ[[รางรถไฟ]] โดยวัดจากหัวรางด้านในข้างซ้ายถึงหัวรางด้านในข้างขวา [[สแตนดาร์ดเกจ]] (standard gauge) เป็นชื่อของขนาดความกว้างรางที่นิยมใช้มากที่สุดทั่วโลก โดยประมาณ 60% ของรางรถไฟทั้งหมด โดยมีขนาด 1,435 มม. (4 ฟุต {{เศษ|8|1|2}} นิ้ว) โดยในเมืองไทยรางรถไฟส่วนใหญ่มีขนาดความกว้างที่เรียกว่า [[มีเตอร์เกจ]] ที่มีขนาดความกว้าง 1,000 มม. ซึ่งมีแผนการจะพัฒนาปรับปรุงเพื่อใช้สำหรับ[[รถไฟความเร็วสูง]]<ref>{{cite press release |title=เมื่อประเทศไทยกำลังจะมี 'ม้าเหล็ก' ความเร็วสูงใช้|url=http://www.thairath.co.th/page/trainPage|publisher=ไทยรัฐ|language=ไทย|date=|accessdate=7 มิถุนายน พ.ศ. 2555}}</ref>
 
== ประเภทของรางรถไฟเกจ ==
=== รางแคบเกจแคบ (Narrow gauge) ===
รางแคบ (Narrow gauge) เป็นรางรถไฟที่มีความกว้างของรางน้อยกว่า 1.435 เมตร ได้แก่
* สก๊อตต์ เกจ (Scotch gauge) ขนาดความกว้างราง 1.372 เมตร (4 ฟุต 6 นิ้ว)
บรรทัด 12:
{{โครง-ส่วน}}
 
=== รางมาตรฐานเกจมาตรฐาน (Standard gauge) ===
เป็นรางขนาด 1.435 เมตร หรือ 1,435 มม. (4 ฟุต {{เศษ|8|1|2}} นิ้ว) มีจำนวนประเทศที่ใช้มากที่สุด เรียกมาตรฐานรางกว้างขนาดนี้ว่า Standard Gauge บางครั้งเรียกว่า European Standard Gauge (ESG.) เป็นรางรถไฟที่กำหนดเป็นมาตรฐานของกลุ่มในประเทศยุโรป มีการใช้รางขนาดนี้คิดเป็นหกสิบเปอร์เซ็นต์ของรถไฟโลก<ref>http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=2 ขนาดความกว้างของรางรถไฟ</ref>