ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงนิราศพระยาตรัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ข้อความ+หมวดหมู่
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1:
{{ตารางวรรณคดี|
| กวี = [[พระยาตรัง]] (พระยาตรังคภูมาภิบาล|
| ประเภท = [[นิราศ]]|
| คำประพันธ์ = [[โคลงสี่สุภาพ]]|
| ความยาว = 126 บท|
| สมัย = [[รัตนโกสินทร์]](ต้น[[รัชกาลที่ 2]])|
| ปี = ราว[[พ.ศ. 2352]]|
| ชื่ออื่น = โคลงนิราศถลาง|
}}
 
บรรทัด 13:
โคลงนิราศพระยาตรัง นับเป็นโคลงนิราศเรื่องหนึ่งที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี โดยีมอายุร่วมสมัยกัยโคลงนิราศของ[[นายนรินทรธิเบศร์]] หรือ[[นิราศนรินทร์]] ซึ่งจะว่าเป็นยอดของโคลงนิราศเช่นกัน
 
== ประวัติ ==
นิราศเรื่องนี้ เข้าใจว่าพระยาตรังคงจะแข่งขึ้นเมื่อคราวออกศึกถลางครั้งที่ 2 ในต้น[[รัชกาลที่ 2]] เมื่อ [[พ.ศ. 2352]] เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหเยกทิพไปรบมือกับพม่า ที่ส่งกองทัพบุกมายังเมืองถลาง (ภูเก็ต)
 
บรรทัด 22:
ต้นฉบับใน[[หอสมุดแห่งชาติ]] มีสมุดไทย 7 เล่ม ด้วยกัน มีเนื้อหาแตกต่างกันไปบ้าง เล็กๆ น้อยๆ แต่มี 3 เล่ม ที่มีเนื้อหาครบถ้วน 126 บท ในการชำระและจัดพิมพ์ขึ้นใหม่เมื่อ พ.ศ. 2547 กรรมการชำระได้ทำหมายเหตุระบุเนื้อหาที่แตกต่างในแต่ละฉบับเอาไว้โดยละเอียด
 
== เส้นทาง ==
พระยาตรังซึ่งรับราชการในกรุงเทพฯ เวลานั้นดี้วมทัพไปในคราวนี้ด้วย แต่ไม่ได้ร่วมไปในทัพหลวง เพราะใช้เส้นทางเดินทัพต่างจากของนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) โดยทัพของพระยาตรังเคลื่อนเข้าคลองลัด ไปทางเมืองสมุทรปราการ จนถึงปากน้ำ แล่นเรือเลียบชายฝั่งทะเลตะวันออก แล้วตัดข้ามทะเลไปตามชายฝั่งภาคใต้ จนถึงเมืองชุมพร แล้วเดินทางต่อไปถึงไชยา จากนั้นก็ย้อนกลับมาที่หลังสวน
 
== คำประพันธ์ ==
นิราศพระยาตรังแต่งด้วย[[โคลงสี่สุภาพ]]เป็นหลัก โดยมี[[ร่ายสุภาพ]]นำเพียง 15 [[วรรค]] และยังนับเป็นวรรรณกรรมเพียงเรื่องเดียวของพระยาตรัง ที่แต่งเป็นโคลงสี่สุภาพ (นอกจากนี้ล้วนแต่งด้วย[[โคลงสี่ดั้น]] และ[[เพลงยาว]])
 
== เนื้อหา ==
ช้วงต้นเป็นบทชมพระนคร และไว้ครูตามธรรมเนียมการประพันธ์ จากนั้นเป็นการพร่ำพรรณาความรู้สึกถึงหญิงที่รัก บรรยายสถานที่ระหว่างเส้นทาง โดยมักสอดแทรกความรู้สึกและเล่นคำพ้องเสียงที่เชื่อมโยงไปถึงอารมณ์ผูกพันที่มีต่อคนรักของตน โดยเล่าถึงสถานที่จาก วัดสามปลื้ม ฉางเกลือ วัดทอง วัดราชบุรณะ วัดดอกไม้ พระประแดง จนถึงปากน้ำ แล้วผ่านเกาะต่างๆ ถึงสามร้อยยอด สุดท้ายพรรณนาถึงเกาะทะลุ และแหลมไทร จากนั้นไม้ได้บรรยายสถานที่อีก
 
== อ้างอิง ==
* ''วรรณกรรมพระยาตรัง''. กรมศิลปากร, 2547
 
[[หมวดหมู่:นิราศ|คโลงนิราศพระยาตรัง]]