ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแม่วัดดุสิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7045773 สร้างโดย Jeabbabe (พูดคุย)
ศัพท์นี้มีใช้จริงเป็นทางการ, ลบข้อมูลคัดลอก/ไม่มีอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{โปร}}
'''เจ้าแม่วัดดุสิต''' เป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์[[ราชวงศ์จักรี]] พระองค์เป็นพระนมชั้นเอกใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ซึ่ง[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ได้รับพระราชทานสร้างวังมีตำหนักตึกที่ริม[[วัดดุสิดาราม]]ถวายพระองค์เจ้าพระนมนาง ดังนั้นจึงเป็นที่มาของคำว่า เจ้าแม่ดุสิต มีข้อสันนิษฐานมากมายเกี่ยวกับพระชาติกำเนิดของเจ้าแม่วัดดุสิตมีมากมาย เนื่องจากไม่ปรากฏหลักฐานอย่างแน่ชัดว่าเจ้าแม่วัดดุสิตสืบเชื้อสายมาจากผู้ใด โดย [[ม.ร.ว. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] ได้กล่าวไว้ในหนังสือโครงกระดูกในตู้โดยอ้างจากหนังสือราชินิกุลบางช้างไว้ว่า "เจ้าแม่วัดดุสิตมีศักดิ์เป็น[[หม่อมเจ้า]]ใน[[ราชวงศ์สุโขทัย|ราชวงศ์พระมหาธรรมราชา]] ซึ่งสืบเชื้อสายมาแต่[[ราชวงศ์พระร่วง]][[กรุงสุโขทัย]]"<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=[[ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช]]|ชื่อหนังสือ=โครงกระดูกในตู้|จังหวัด=กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่= บริษัท โอ เอ็น จี การพิมพ์ จำกัด|ปี= พ.ศ. 2548|ISBN= 974-690-131-1|จำนวนหน้า=109|หน้า= 21}}</ref> นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงพระนามของเจ้าแม่วัดดุสิตไว้ว่า [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า [[กรมพระปรมานุชิตชิโนรส]] ได้ฟังคำบอกเล่าจาก[[พระวันรัตน์]] (ฉิม)ว่า]] ว่าเจ้าฟ้าหญิงรัศมี และเจ้าฟ้าจีกเคยตรัสเล่าว่า [[สมเด็จพระเอกาทศรถ]]แห่งราชวงศ์พระร่วง ได้อภิเษกสมรสกับราชธิดาของ[[พระยาเกียรติ์]] (ขุนนางชาวมอญที่ติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) มีราชธิดา คือ เจ้าครอกบัว (หม่อมเจ้าบัว) และเจ้าครอกอำภัย (หม่อมเจ้าอำไพ) แต่ในหนังสือนี้ยังมีข้อความที่คลุมเครือระหว่างเจ้าครอกบัวและเจ้าครอกอำไพอยู่มาก ซึ่งทำให้สับสนว่า เจ้าแม่วัดดุสิตมีชื่อเดิมว่าอย่างไรกันแน่? บางแห่งกล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงบัว" มีเชื้อสายพระร่วงสุโขทัย บางแห่งก็กล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงอำไพ" เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] อย่างไรก็ตาม หลักฐานหลายแห่งก็ไม่ได้บ่งบอกว่าสายตระกูลของเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นสืบเชื้อสายมาจากเชื้อพระวงศ์สายไหนเช่นกัน<ref name="ปรามินทร์">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ปรามินทร์ เครือทอง|ชื่อหนังสือ=ศิลปวัฒนธรรม : ตามหา "เจ้าแม่วัดดุสิต" ปริศนาต้นพระราชวงศ์จักรี เจ้านายหรือสามัญชน ฉบับที่ 6 ปีที่ 26 |จังหวัด=กรุงเทพฯ|ปี= พ.ศ. 2548|จำนวนหน้า= |หน้า=76-86}}</ref> แต่จากเอกสารพงศาวดารไทยหลายฉบับและของต่างประเทศเป็นที่ยืนยันว่าเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นมีตัวตนอย่างแน่นอน
 
"ในตอนนี้คนในตระกูลที่รับราชการเป็นทหารของพระเจ้ากรุงหงสาวดีได้ติดตามมากับสมเด็จพระนเรศรด้วย แล้วตั้งหลักแหล่งอยู่ในอยุธยา" <ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=เซอร์จอห์น เบาว์ริง|ชื่อหนังสือ=ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม. มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์|จังหวัด=กรุงเทพฯ|ปี= พ.ศ. 2547|จำนวนหน้า= |หน้า=87}}</ref>
ภายหลังมีความเปลี่ยนแปลงในราชสำนัก จนกระทั่งถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าและขึ้นทรงกรมที่ '''[[กรมพระเทพามาตย์]]''' ตามลำดับในสมัย[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8]] เป็นที่รู้จักกันดีในพระนาม "เจ้าแม่วัดดุสิต" ต่อมาภายหลังแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ [[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า]]ได้เอ่ยถึงเจ้าแม่วัดดุสิตในนาม "'''เจ้าแม่ผู้เฒ่า'''" รัชกาลที่ ๔ เคยมีพระราชหัตถเลขาถึงเซอร์จอห์น เบาว์ริง ทรงอ้างถึงต้นตระกูลชาวมอญหงสาวดี ได้ติดตามสมเด็จพระนเรศวรหรือที่ทรงเรียกว่าพระนเรศร (King Phra Naresr) มายังกรุงศรีอยุธยา
 
"ในตอนนี้คนในตระกูลที่รับราชการเป็นทหารของพระเจ้ากรุงหงสาวดีได้ติดตามมากับสมเด็จพระนเรศรด้วย แล้วตั้งหลักแหล่งอยู่ในอยุธยา" <ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=เซอร์จอห์น เบาว์ริง|ชื่อหนังสือ=ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม. มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์|จังหวัด=กรุงเทพฯ|ปี= พ.ศ. 2547|จำนวนหน้า= |หน้า=87}}</ref>
 
เจ้าแม่วัดดุสิตสมรสกับขุนนางเชื้อสายมอญมีบุตรธิดา 3 คน คือ
เส้น 11 ⟶ 9:
# แช่ม หรือ ฉ่ำ ธิดา
 
ส่วนปัญหาที่ว่า เจ้าแม่วัดดุสิตนั้น เป็น "เจ้า" จริงหรือไม่นั้น อาจจะอนุมานได้จากคำพูดของแม้สมเด็จพระนารายณ์ซึ่งทรงใช้คำตรัสเรียกว่า "เจ้าแม่วัดดุสิต" คือเป็นพระนามโดยตำแหน่ง ซึ่งถือเป็นตามธรรมเนียมนิยมแต่ก่อนจะไม่นิยมเรียกพระนามผู้เป็นเจ้ากันตรงๆตรง อย่างไรก็ดี อาจเป็นไปได้แต่เพียงว่า สมเด็จพระนารายณ์ตรัสเรียกให้เกียรติเสมอด้วย "เจ้า" ทั้งนี้เนื่องจากหลักฐานตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ขึ้นไป คือประเภท จดหมายเหตุชาวต่างประเทศ หรือพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับต่างๆต่าง ๆ ไม่ได้กล่าวถึงที่มาที่ไปของเจ้าแม่วัดดุสิตรวมไปถึง "ความเป็นเจ้า" ของท่านแม้แต่น้อย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://kai1981.multiply.com/reviews/item/12{{cite web|title=ปริศนาเจ้าแม่วัดดุสิต ต้นราชวงศ์จักรี "เจ้า"“เจ้า” หรือ "สามัญชน"“สามัญชน”?]??|url=https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_8207|publisher=ศิลปวัฒนธรรม|date=15 เมษายน พ.ศ.2560|accessdate=10 มิถุนายน 2560}}
* ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. '''อยุธยา ประวัติศาสตร์การเมือง'''. 2548. [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]].
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:กรมพระราชวงศ์จักรี]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 17]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา]]
{{โครงชีวประวัติ}}