ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธย = เจ้าสามพระยา
| พระปรมาภิไธย = สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2เจ้า
| วันพระราชสมภพ =
| วันสวรรคต = [[พ.ศ. 1991]]
บรรทัด 10:
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระอินทราชา]]
| พระราชมารดา =
| พระมเหสี = พระราชธิดาของใน[[พระมหาธรรมราชาที่ 3]] แห่ง[[สุโขทัย2]]
| พระราชโอรส/ธิดาราชบุตร = พระอินทราชา<br />พระราเมศวรนครอินท์เจ้า<br />([[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]])
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา = พระอินทราชา<br />พระราเมศวร<br />([[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]])
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
|ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 1967]] -[[ พ.ศ. 1991]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
|ระยะเวลาครองราชย์ = 24 ปี
เส้น 20 ⟶ 19:
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]
|}}
'''สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2''' หรือ '''เจ้าสามพระยา''' เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 1967 - พ.ศ. 1991
 
พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในการปกครอง และการรบ ดังจะเห็นได้จากกรณีการตี[[อาณาจักรล้านนา]]และเมือง[[ประเทศกัมพูชา]] นับเป็นการขยายพระราชอาณาเขตของ อาณาจักรอยุธยาตอนต้นอย่างเป็นรูปธรรม
'''สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2''' หรือ '''เจ้าสามพระยา''' เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ใน[[สมเด็จพระอินทราชา]] (เจ้านครอินทร์) และเป็นพระราชบิดาของ[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี [[พ.ศ. 1967]] ภายหลังจากเหตุการณ์การแย่งราชสมบัติของพระเชษฐาทั้งสองจนสิ้นพระชนม์ไปทั้ง 2 พระองค์ โดยพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]
 
พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในการปกครอง และการรบ ดังจะเห็นได้จากกรณีการตี[[ล้านนา]]และเมือง[[กัมพูชา]] นับเป็นการขยายพระราชอาณาเขตของ อาณาจักรอยุธยาตอนต้นอย่างเป็นรูปธรรม
 
== พระราชประวัติ ==
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 มีพระนามเดิมว่า เจ้าสามพระยา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระอินทราชา หลังจากพระราชบิดาตีได้[[หัวเมืองเหนือ]]แล้ว ก็โปรดให้มีพระเชษฐาราชโอรศพระองค์ใหญ่ทั้งสอง 23 พระองค์ไปครองเมืองต่าง ได้แก่ๆ คือ เจ้าอ้ายพระยาเป็นผู้ครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] และเจ้ายี่พระยาเป็นผู้ครองเมืองแพรกศรีราชา ([[อำเภอสรรคบุรี]]) พระองค์ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปปกครอง[[ชัยนาท|เมืองชัยนาท]] ([[พิษณุโลก]]) ซึ่งเป็นหัวเมืองสำคัญทางเหนือ และได้ทรงอภิเษกสมรสกับพระราชธิดาของ[[พระมหาธรรมราชาที่ 32]] (ไสลือไท) แห่ง[[กรุงสุโขทัย]] ส่วนเจ้าอ้ายพระยาได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้ปกครอง[[สุพรรณบุรี|เมืองสุพรรณบุรี]]และเจ้ายี่พระยาได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้ปกครอง[[อำเภอสรรคบุรี|เมืองสรรค์]] (แพรกศรีราชา)
 
เมื่อสมเด็จพระนครินทราธิราชเสด็จสวรรคตใน[[ปี พ.ศ. 1967]] เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา ต่างยกทัพเข้า[[กรุงศรีอยุธยา]]เพื่อชิงราชสมบัติ ทั้งสองพระองค์ได้กระทำ[[ยุทธหัตถี]]กันที่เชิงสะพานป่าถ่านจนสิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ เป็นเหตุให้ขุนนางผู้ใหญ่จึงไปกราบทูลเชิญเจ้าสามพระยาได้ครองราชย์สมบัติเป็น[[พระมหากษัตริย์]]ขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงเฉลิมพระนามว่า '''สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า''' แล้วโปรดให้ขุดพระศพพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ไปถวายพระเพลิง แล้วสร้าง[[วัดราชบูรณะ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)|วัดราชบูรณะ]]ในที่ถวายพระเพลิงนั้น 2) โดยพระองค์โปรดเกล้าฯ ส่วนที่กระทำยุทธหัตถีให้ก่อพระเป็นเจดีย์ขึ้นไว้ 2 องค์ ณ บริเวณที่เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาชนช้างกันจนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์
 
พระองค์มีพระราชโอรส 2 พระองค์ ได้แก่
# [[พระอินทรราชา]] หรือ พระนครอินทร์ เชื่อกันว่าประสูติจากมเหสีเดิมในสมัยที่เจ้าสามพระยาทรงครอง[[เมืองชัยนาท]] ต่อมา พระอินทราชาได้รับการโปรดเกล้าให้ไปครอง[[นครธม|เมืองพระนครหลวง]] จนกระทั่งสิ้นพระชนม์
# [[สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนาถ]] ประสูติแต่พระมารดาที่เป็นพระราชธิดาของ[[พระมหาธรรมราชาที่ 32]] แห่ง[[กรุงสุโขทัย]]
 
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เสด็จสวรรคต เมื่อ [[พ.ศ. 1991]] พระองค์ครองราชสมบัติรวม 24 ปี โดยสมเด็จพระราเมศวรพระราชโอรสได้สืบราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาต่อจากสมเด็จพระบรมราชาธิราช มีพระนามว่า [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]
 
== พระราชกรณียกิจ ==
เส้น 40 ⟶ 38:
=== ด้านราชการสงคราม ===
==== การศึกกับเขมร ====
เมื่อปี [[พ.ศ. 1974]] พระเจ้าธรรมาโศก กษัตริย์[[อาณาจักรเขมร]] ได้ยกกำลังเข้ามากวาดต้อนผู้ตามหัวเมืองชายแดนของ[[กรุงศรีอยุธยา]]ไป ทำให้สมเด็จพระบรมราชาธิราช ได้เสด็จยกทัพไปตีเมืองนครหลวง ([[นครธม|เมืองพระนครหลวง]](นครธม) เมื่อ ในรัชสมัย[[พ.ศ. 1975พระธรรมาโศกราช]] พระองค์ตั้งทัพล้อมเมืองพระนครหลวงอยู่ 7 เดือน ก็สามารถตีเอาเมืองพระนครหลวงได้ ครั้งนั้นพระองค์ทรงแล้วโปรดให้พระอินทราชานครอินท์เจ้า พระราชโอรสปกครองไปครองเมืองนครหลวงแทนในฐานะเมืองประเทศราชขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา แล้วให้นำ พระยาแก้ว พระยาไทยไท และรูปภาพพรอมทั้งพระประยูรญาติ (เทวรูปเหล่าขุนนาง สมบัติศิลปะของขอม) ทั้งปวงพร้อมกับทั้งกวาดต้อนผู้คนและสิ่งของสำคัญๆรูปหล่อพระโคสิงห์สัตว์ต่าง ๆ กลับมายังกรุงศรีอยุธยาด้วย ทำให้อิทธิพลของเขมรในด้านการปกครอง ประเพณี ตลอดจนงานศิลปะมาปรากฏชัดในอยุธยา
 
พระอินทราชานั้นครองราชย์เมืองพระนครไม่นานก็สิ้นพระชนม์ เนื่องจากทนภาวะอากาศไม่ได้ [[กรุงศรีอยุธยา]]ก็ไม่ได้แต่งตั้งผู้ใดขึ้นไปดูแลแทน จึงทำให้ชาวเขมรนั้นไม่อาจกลับมายังที่เมืองพระนครได้ ปล่อยให้เมืองร้างลง ภายหลังเมื่อเขมรมีอำนาจคืนได้จึงมีการย้ายราชธานีไปตั้งที่[[พนมเปญ|เมืองพนมเปญ]] ทำให้เมืองพระนครล่มสลายในที่สุด
 
==== การศึกกับล้านนา ====
ในปี [[พ.ศ. 1985]] [[พระเจ้าติโลกราช]]แห่งเชียงใหม่ ได้รบกับท้าวช้อยผู้เป็นพระอนุชา ท้าวช้อยแพ้หนีไปอยู่[[อำเภอเทิง|เมืองเทิง]](อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย) เจ้าเมืองเทิงได้มาขอสวามิภักดิ์กับ[[กรุงศรีอยุธยา]]และขอให้ส่งกองทัพไปช่วยรบ สมเด็จพระบรมราชาธิราชจึงทรงยกกองทัพไปตีเมือง[[เชียงใหม่]]ของ[[อาณาจักรล้านนา]]แต่ก็ตีไม่สำเร็จประกอบกับทรงพระประชวรจึงทรงยกกองทัพกลับกรุงศรีอยุธยา
พระองค์ทรงยกกองทัพไปตีเชียงใหม่อีกครั้ง เมื่อ [[พ.ศ. 1987]] ทรงตั้งทัพหลวงที่ตำบลปะทายเขษม ครั้งนี้ได้หัวเมืองชายแดนของเชียงใหม่กับเชลยอิก 120,000 คน จึงยกทัพหลวงกลับพระนคร
เส้น 58 ⟶ 54:
 
=== การรวมสุโขทัยกับอยุธยา ===
[[พระเจ้าติโลกราช]] พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]] เป็นผู้นำที่เข้มแข็งในการสงคราม ได้พยายามที่จะขยายอาณาเขตของเมืองเชียงใหม่ลงมาทางใต้ สมเด็จพระบรมราชาธิราชทรงเห็นว่าหากปล่อยให้เชื้อสาย[[ราชวงศ์พระร่วง]] ปกครองสุโขทัยในฐานะเมืองประเทศราชอยู่เช่นนั้นแล้ว จะทำให้ผู้คนในหัวเมืองพากันไปเข้ากับล้านนา หรือไม่ก็ถูกล้านนาลงมารุกราน ด้วยสุโขทัยนั้นอ่อนแอลงไม่เข้มแข็งพอ ที่จะดูแลหัวเมืองต่าง ๆ นั้นได้
 
เพื่อให้หัวเมืองฝ่ายเหนือหรืออาณาจักรสุโขทัยในการดูแลของเมืองพิษณุโลก อยู่ในอำนาจของ[[กรุงศรีอยุธยา]]โดยสมบูรณ์ ดังนั้นใน [[พ.ศ. 1981]] เมื่อ[[พระมหาธรรมราชาที่ 4]] กษัตริย์แห่งสุโขทัยซึ่งครอง[[พิษณุโลก|เมืองพิษณุโลก]]อยู่ได้สวรรคตลง สมเด็จพระบรมราชาธิราช จึงทรงให้รวบรวมหัวเมืองเหนือที่เคยแยกการปกครองเป็นสองเขตนั้น รวมเป็นเขตเดียวกัน แล้วแต่งตั้งให้พระราชโอรส[[สมเด็จที่ประสูติแต่พระบรมไตรโลกนาถ|พระราเมศวร]]ราชเทวี (ซึ่งมีพระมารดาเป็นพระราชธิดาของใน[[พระมหาธรรมราชาที่ 32]]) เป็น[[สมเด็จพระมหาอุปราชบรมไตรโลกนาถ|สมเด็จพระราเมศวรเจ้า]] ให้ขึ้นไปครองเมืองพิษณุโลกเพื่อกำกับดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งหมด โดยให้เมืองพิษณุโลกเป็นเมืองมหาอุปราช จึงเป็นการทำให้[[ราชวงศ์พระร่วง]]หมดอำนาจในปกครองสุโขทัย [[อาณาจักรสุโขทัย]]จึงค่อยๆค่อย ๆ ถูกรวมกับกรุงศรีอยุธยา
 
== เหตุการณ์สำคัญอื่น ๆ ==
* พ.ศ. 1981 [[พระพุทธชินราช]]มีน้ำพระเนตรไหลออกมาเป็นโลหิต
* [[พ.ศ. 1983]] เกิดเพลิงไหม้พระราชมนเฑียร
* [[พ.ศ. 1984]] เกิดเพลิงไหม้[[พระที่นั่งตรีมุข]] ใน[[พระราชวังกรุงศรีอยุธยา]]
 
== เหตุการณ์สำคัญ ==
* [[พ.ศ. 1981]] เมื่อ[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ|พระราเมศวร]]ซึ่งเป็นพระราชโอรสได้เสด็จไปครองเมืองพิษณุโลก ทรงเห็นน้ำพระเนตรของ[[พระพุทธชินราช (พิษณุโลก)|พระพุทธชินราช]]ตกออกมาเป็นโลหิต
* [[พ.ศ. 1983]] เกิดเพลิงไหม้พระราชมนเฑียร
* [[พ.ศ. 1984]] เกิดเพลิงไหม้[[พระที่นั่งตรีมุข]] ใน[[พระราชวังกรุงศรีอยุธยา]]
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
* http://www.oceansmile.com/K/Ayuttaya/KingSampraya.htm
{{รายการอ้างอิง}}
* http://www.yudya.com/king/king/7.html
 
* http://www.moohin.com/thaihistory/h016c010.shtml
; บรรณานุกรม
* ไทยรบพม่า เล่ม 1 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สำนักงานพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ จัดพิมพ์จำหน่าย พ.ศ. 2546
{{เริ่มอ้างอิง}}
* พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ สำนักงานพิมพ์คลังวิทยา จัดพิมพ์จำหน่าย พ.ศ. 2510
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ลำดับรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
 
{{เริ่มกล่อง}}
บรรทัด 83:
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]<br />([[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]])
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 1967]] - [[พ.ศ. 1991]]
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระอินทราชา]]<br />([[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]])
|วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 1952]] - [[พ.ศ. 1967]])
|ถัดไป = [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]<br />([[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]])
|วาระถัดไป = ([[พ.ศ. 1991]] - [[พ.ศ. 2031]])
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{ประสูติปี|}}{{สิ้นพระชนม์ปี|1991}}
 
{{พระมหากษัตริย์ไทย}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
 
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา{{เรียงลำดับ|บรมราชาธิราชที่ 2]]}}
{{อายุขัย||1991}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]