ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาดทะยัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| DiseasesDB = 2829
}}
'''บาดทะยัก'''เป็น[[โรคติดเชื้อ]]อย่างหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีอาการเด่นคืออาการ[[Spasm|กล้ามเนื้อเกร็ง]] ส่วนใหญ่การเกร็งจะเริ่มต้นที่กล้ามเนื้อกรามจากนั้นจึงลุกลามไปยังกล้ามเนื้อส่วนอื่นๆ การเกร็งแต่ละครั้งมักเป็นอยู่ไม่กี่นาที และเกิดขึ้นซ้ำๆ เป็นเวลา 3-4 สัปดาห์ การเกร็งอาจมีความรุนแรงมากจนทำให้[[กระดูกหัก]]ได้ อาการอื่นที่อาจพบร่วมได้แก่ [[ไข้]] [[เหงื่อออก]] [[ปวดศีรษะ]] [[Dysphagia|กลืนลำบาก]] [[ความดันเลือดสูง]] และ[[หัวใจเต้นเร็ว]] ผู้ป่วยส่วนใหญ่เริ่มมีอาการหลังจากติดเชื้อเป็นเวลา 3-21 วัน การรักษาอาจใช้เวลาหลายเดือน ผู้ป่วยประมาณ 10% จะเสียชีวิต
'''บาดทะยัก''' ({{Lang-en|Tetanus}}) เป็นโรคที่เกิดจากตัว[[เชื้อโรคบาดทะยัก]] (Clostridium tetani) เข้าสู่แผล ทำให้มีอาการกระตุก และชักแข็ง หลังแอ่น โดยมากถึงตาย
 
บาดทะยักเกิดจากการติดเชื้อ[[แบคทีเรีย]] ''[[Clostridium tetani]]'' ซึ่งพบได้ในดิน น้ำลาย ฝุ่น และปุ๋ยมูลสัตว์ เชื้อมักเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลเช่นแผลบาดหรือแผลตำที่เกิดจากวัตถุที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้อเหล่านี้ผลิต[[Tetanospasmin|สารพิษ]]ที่รบกวนกระบวนการหดตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้มีอาการดังกล่าวข้างต้น การวินิจฉัยทำได้โดยการดูจากอาการและอาการแสดง โรคนี้ไม่ติดต่อจากคนสู่คน
เชื้อโรคบาดทะยักนั้นเป็น[[พิษประสาท]]ที่ผลิตขึ้นโดย[[แบคทีเรียแกรมบวก]][[Bacillus (shape)|รูปแท่ง]]ชนิดที่[[Anaerobic organism|ไม่ต้องการออกซิเจน]]
 
การป้องกันการติดเชื้อทำได้โดย[[Immunization|การเสริมภูมิคุ้มกัน]]ด้วยการให้[[วัคซีนบาดทะยัก]] ผู้ที่มีบาดแผลที่เข้าข่ายจะติดเชื้อและได้รับวัคซีนมาไม่ถึง 3 ครั้ง ควรได้รับทั้งวัคซีนบาดทะยักและ[[Anti-tetanus immunoglobulin|ภูมิคุ้มกันบาดทะยักในรูปแบบของอิมมูโนกลอบูลิน]] ควรได้รับการล้างแผลและนำเอาเนื้อตายออก ผู้ป่วยที่มีอาการควรได้รับการรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบาดทะยักแบบอิมมูโนกลอบูลิน หรืออาจ[[Immunoglobulin therapy|รักษาด้วยอิมมูโนกลอบูลินแบบรวม]]ได้ [[Muscle relaxant|ยาคลายกล้ามเนื้อ]]อาจช่วยควบคุมอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ และหากผู้ป่วยมีปัญหาของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจร่วมด้วยอาจต้องใช้[[การช่วยหายใจ]]ผ่านเครื่องช่วยหายใจ
การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดขึ้นจาก[[แผลเปิด]]ใหญ่หรือ[[แผลลึก]] เมื่อมีการติดเชื้อการเกร็งของกล้ามเนื้อจะเกิดขึ้นเป็นลำดับ เริ่มด้วยอาการไม่สามารถ[[กลืน]]อาหารได้ การเกร็งของกล้ามเนื้อ และการเกร็งในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย<ref name="Baron">{{cite book | author = Wells CL, Wilkins TD | title = Clostridia: Sporeforming Anaerobic Bacilli. ''In:'' Baron's Medical Microbiology '' (Baron S ''et al'', eds.)| edition = 4th ed. | publisher = Univ of Texas Medical Branch | year = 1996 | id = [http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/bv.fcgi?rid=mmed.section.1099 (via NCBI Bookshelf)] ISBN 0-9631172-1-1 }}</ref> การติดเชื่อสามารถถูกควบคุมได้โดยการให้ภูมิคุ้มกันที่เหมาะสมหรือการฉีด[[วัคซีน]]<ref name="CDC">{{cite web | title=Tetanus | work=CDC Pink Book | url=http://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/downloads/tetanus.pdf | accessdate=2007-01-26}}</ref>
 
บาดทะยักเป็นโรคที่พบได้ทั่วโลกแต่มักพบบ่อยในพื้นที่ที่มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นซึ่งมีดินและสารอินทรีย์อยู่มาก ในปี พ.ศ. 2558 มีรายงานว่ามีผู้ป่วยบาดทะยักประมาณ 209,000 คนและเสียชีวิตประมาณ 59,000 คนทั่วโลก ซึ่งลดลงเป็นอย่างมากจากจำนวนผู้เสียชีวิต 356,000 คน ในปี พ.ศ. 2533 มีการบรรยายถึงโรคนี้เอาไว้เก่าแก่ตั้งแต่สมัยแพทย์กรีกชื่อ[[ฮิปโปกราเตส]]เมื่อ 500 ปีก่อนคริสตกาล สาเหตุของโรคถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2427 โดย Antonio Carle และ Giorgio Rattone แห่งมหาวิทยาลัยทูริน ส่วนวัคซีนถูกผลิตขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2467
 
= ความเกี่ยวข้องกับสนิมเหล็ก =