ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อติเทวนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วนอ้างอิง + ใส่หมวดหมู่
ThucydidesNeo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อติเทวนิยม''' เป็นคำไทยที่บัญญัติขึ้น เพื่อใช้นิยามแนวคิดทางเทววิทยา [[Henotheism]] ({{lang-gr|[[:wikt:ἑνας|ἑνας]]}}, ''henas - หนึ่ง'', และ [[:wikt:θεός|θεός]], ''theos - เทพ'')
 
อตินิยม คือ ความเชื่อว่าที่ทั้งเหมือนและต่างจาก [[เอกเทวนิยม]] เหมือนตรงที่นับถือบูชา[[พระเจ้า]]หรือเทพเจ้าเพียงองค์เดียว แต่ต่างตรงที่อติเทวนิยมยอมรับในการมีอยู่ของพระเจ้าหรือเทพเจ้าองค์อื่นๆ ในขณะที่ [[เอกเทวนิยม]] จะถือว่าพระเจ้ามีเพียงองค์เดียวเท่านั้น อาจมีวิญญาณอื่นแต่ไม่ใช่พระเจ้าหรือเทพเจ้า และอติเทวนิยมก็สอดคล้องกับความเชื่อ [[พหุเทวนิยม]] ในประการที่ที่เชื่อว่าพระเจ้ามีหลายองค์ ต่างตรงที่จะบูชาเพียงพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว ในขณะที่พหุเทวนิยมโดยแท้ จะทั้งเชื่อและบูชาพระเจ้าหลายองค์พร้อมๆกัน
คือความเชื่อว่ามี[[พระเป็นเจ้า]]เป็น[[เทวดา]]องค์เดียว หรือความเชื่อว่าพระเป็นเจ้าเป็นหนึ่งเดียว<ref>"Monotheism", ''Britannica'', 15th ed. (1986), '''8''':266.</ref> (ไม่ทรงแบ่งภาค) แนวคิดเอกเทวนิยมแบบบริสุทธิ์พบใน[[ศาสนายูดาห์]]และ[[ศาสนาอิสลาม]] ส่วนแบบอ่อนพบใน[[ศาสนาคริสต์]]ส่วนใหญ่ [[ลัทธิซาเบียน]] นิกาย[[มอรมอน]] และศาสนาอื่น ๆ เช่น [[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]] [[ศาสนาบาไฮ]] [[ศาสนาซิกข์]] และ[[ศาสนาฮินดู]]<ref>monotheism 2012. Encyclopædia Britannica Online. Retrieved 12 January 2012, from http://www.britannica.com/EBchecked/topic/390101/monotheism</ref> ในบางสำนัก
 
[[มักซ์ มึลเลอร์]] นักอินเดียวิทยา และผู้เชี่ยวชาญภาษาสันสกฤตชาวเยอรมัน เป็นบุคคลแรกที่เสนอว่าศาสนาพราหมณ์ หรือ[[ศาสนาฮินดู]] เป็นตัวอย่างที่สำคัญของแนวความคิดแบบอติเทวนิยม แต่ปัจจุบันมีผู้ไม่เห็นด้วยเพราะการจะเป็นอติเทวนิยมโดยแท้ จะต้องเป็นการนับถือบูชาพระเจ้าเพียงองค์เดียว ไม่ใช่บูชาหลายองค์แบบที่ศาสนาพราห์ม-ฮินดูเป็นอยู่ในทุกวันนี้ซึ่งเป็น พหุเทสนิยม เช่นเดียวกับศาสนากรีกและศาสนาจีน<ref>{{cite book|author= ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์ |title= henotheism ความสับสนในศัพท์ศาสนวิทยา |url= http://sinchaichao.blogspot.com/2015/06/henotheism_25.html}}</ref>
 
== อ้างอิง ==