ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกียวกูองโฮโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 5:
 
== การออกอากาศ ==
{{multiple image
พระราชดำรัสมิได้ถูกนำออกอากาศโดยตรง แต่เป็นการเล่นเสียงจากแผ่นเสียงซึ่งมีการบันทึกเสียงจากในพระราชวังหลวงระหว่างวันที่ 13-14 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ทหารญี่ปุ่นหลายฝ่ายโกรธมากกับความคิดที่ว่าสมเด็จพระจักรพรรดิกำลังจะยุติสงคราม เนื่องจากพวกเขาเชื่อว่าจะเป็นการเสื่อมเกียรติอย่างยิ่ง ไม่นานหลังจากนั้น นายทหารนับพันนายพยายามที่จะบุกเข้าไปในพระราชวังหลวงจักรพรรดิเมื่อเย็นวันที่ 14 สิงหาคม เพื่อที่จะทำลายแผ่นเสียงนี้ แต่บันทึกเสียงได้ถูกลักลอบนำออกจากพระราชวังหลวงในตะกร้าผ้าซักซึ่งมีชุดชั้นในของสตรีอยู่เต็มและสามารถออกอากาศได้ในวันรุ่งขึ้น
| align = left
| direction = horizontal
| header =
| header_align = left/right/center
| footer = บรรยากาศระหว่างการออกอากาศพระราชดำรัสว่าด้วยการยุติสงครามมหาเอเชียบูรพา ในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ซ้าย) ประชาชนชาวญี่ปุ่นซึ่งเผชิญภัยจากการโจมตีทางอากาศนั่งคุกเข่ารับฟังการออกอากาศพระราชดำรัสด้วยความเสียใจ (ขวา) เชลยศึกชาวญี่ปุ่นที่[[เกาะกวม]]ก้มศีรษะรับฟังการออกอากาศพระราชดำรัส
| footer_align = left
| image1 = Japanese_civilians_listening_to_the_surrender_broadcast.jpg
| width1 = 210
| caption1 =
| image2 = Japanese Prisoners of War at Guam - 15 August 1945.jpg
| width2 = 150
| caption2 =
}}
พระราชดำรัสมิได้ถูกนำออกอากาศโดยตรง แต่เป็นการเล่นเสียงจากแผ่นเสียงซึ่งมีการบันทึกเสียงจากในพระราชวังหลวงระหว่างวันที่ 13-14 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ทหารญี่ปุ่นหลายฝ่ายโกรธมากกับความคิดที่ว่าสมเด็จพระจักรพรรดิกำลังจะยุติสงคราม เนื่องจากพวกเขาเชื่อว่าจะถือเป็นการเสื่อมเกียรติเสื่อมเสียเกียรติยศอย่างยิ่ง ไม่นานหลังจากนั้น นายทหารนับพันนายพยายามที่จะบุกเข้าไปในพระราชวังหลวงจักรพรรดิเมื่อในเย็นวันที่ 14 สิงหาคม เพื่อที่จะทำลายแผ่นเสียงนี้ แต่บันทึกเสียงได้ถูกลักลอบนำออกจากพระราชวังหลวงในตะกร้าผ้าซักซึ่งมีชุดชั้นในของสตรีอยู่เต็มและสามารถออกอากาศได้ในวันรุ่งขึ้น
 
เพื่อบรรเทาความสับสนที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ในตอนสรุปของพระราชดำรัส ผู้ประกาศวิทยุได้ประกาศอย่างชัดเจนว่าพระราชดำรัสของสมเด็จพระจักรพรรดิหมายความว่าญี่ปุ่นกำลังจะยอมจำนน ตามข้อมูลของนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส โรเบิร์ต กิลเลน ผู้ซึ่งอาศัยอยู่ในโตเกียว ณ ขณะนั้น หลังจากผู้ประกาศได้สรุปพระราชดำรัสแล้ว ชาวญี่ปุ่นจำนวนมากได้กลับไปยังบ้านหรือสำนักงานธุรกิจของตนเองเป็นเวลาหลายชั่วโมงเพื่อที่จะซึมซับและไตร่ตรองความสำคัญของประกาศนั้นอย่างเงียบ ๆ<ref>Guillain, Robert, ''I Saw Tokyo Burning: An Eyewitness Narrative from Pearl Harbor to Hiroshima'', Jove Publications, 1982.</ref>