ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าญองย่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
วันขึ้นปีใหม่ไม่ตรงกัน ไม่ควรบวกลบแบบลวก ๆ (อย่าง 25 ก.พ. 1600 น่าจะตรงกับ พ.ศ. 2144 มากกว่า)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
''' พระเจ้านยองยาน ''' ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์ตองอู]] ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1599–1605 ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1555 เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กใน [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ที่ประสูติแต่พระสนม พระองค์เป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดากับ [[พระเจ้านันทบุเรง]]
 
หลังจากพระเจ้านันทบุเรงถูกปลงพระชนม์ที่ [[ตองอู]] เจ้านยองยานซึ่งประทับอยู่ที่ [[อังวะ]] จึงทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ทรงพระนามว่า ''' พระเจ้าสีหสุธรรมราชา ''' พร้อมกับย้ายเมืองหลวงจากตองอูมาที่อังวะ และประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1600
ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1555 เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กใน [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ที่ประสูติแต่
พระสนมและเป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดา
ของ [[พระเจ้านันทบุเรง]] หลังจากพระเจ้านันทบุเรง
ถูกปลงพระชนม์ที่ [[ตองอู]] เจ้านยองยานซึ่งประทับ
อยู่ที่ [[อังวะ]] จึงทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์
องค์ใหม่ทรงพระนามว่า ''' พระเจ้าสีหสุธรรมราชา '''
พร้อมกับย้ายเมืองหลวงจากตองอูมาที่อังวะและประ
กอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1600
 
ในรัชสมัยของพระองค์และพระราชโอรสที่สืบราชสมบัติต่อ คือ [[พระเจ้าอโนเพตลุน]] ทางประวัติศาสตร์ได้เรียกยุคของพระองค์ว่าเป็น "ยุคนยองยาน" หรือ "ราชวงศ์ตองอูยุคหลัง" เพราะเป็นยุคสมัยที่ราชวงศ์ตองอูได้รื้อฟื้นและสถาปนาความเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองในแว่นแคว้นแถบนี้ขึ้นมาอีกครั้ง แม้จะเป็นในช่วงเวลาสั้น ๆ หลังจากล่มสลายไปหลังจากการสิ้นพระชนม์ของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]]และ[[พระเจ้านันทบุเรง]]ก่อนหน้านั้น
สวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1605 ที่ [[รัฐฉาน]] ระหว่างทรงทำสงครามกับหัวเมืองไทใหญ่
 
พระองค์สวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1605 ที่ [[รัฐฉาน]] ระหว่างทรงทำสงครามกับหัวเมืองไทใหญ่ พระราชโอรสที่สืบราชสมบัติต่อ คือ [[พระเจ้าอโนเพตลุน]]
ในรัชสมัยของพระองค์และพระราชโอรสที่สืบราชสมบัติต่อ คือ [[พระเจ้าอโนเพตลุน]] ทางประวัติศาสตร์ได้เรียกว่าเป็น "ยุคนยองยาน" หรือ "ราชวงศ์ตองอูยุคหลัง" เพราะเป็นยุคสมัยที่ราชวงศ์ตองอูได้รื้อฟื้นและสถาปนาความเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองในแว่นแคว้นแถบนี้ขึ้นมาอีกครั้ง แม้จะเป็นช่วงสั้น ๆ หลังจากล่มสลายไปหลังการสิ้นพระชนม์ของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]]และ[[พระเจ้านันทบุเรง]]ก่อนหน้านั้น
 
==อ้างอิง==