ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Boston tea party.jpg|thumb|300px|ภาพเหตุการณ์]]
 
'''งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน''' ({{lang-en|Boston Tea Party}}) เป็นการประท้วงทางการเมืองของกลุ่ม[[บุตรแห่งเสรีภาพ|ซันส์ออฟลิเบอร์ตี]] (Sons of Liberty) ใน[[บอสตัน]]เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1773 เพื่อต่อต้าน[[พระราชบัญญัติชา]] ลงวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1773 ของ[[รัฐสภาบริเตนใหญ่]] ผู้ประท้วง ซึ่งบางคนแต่งกายเป็น[[ชาวอเมริกันพื้นเมืองในสหรัฐ|ชาวอเมริกันพื้นเมือง]] ทำลายการลำเลียง[[ชา]]ทั้งหมดที่[[บริษัทอินเดียตะวันออก]] (East India Company) จัดส่งมา โดยขึ้นเรือและโยนหีบชาลงทะเลที่[[ท่าบอสตัน]] รัฐบาลบริติชโต้ตอบอย่างรุนแรง จนสถานการณ์บานปลายกลายเป็น[[การปฏิวัติอเมริกัน]] งานเลี้ยงน้ำชานี้จึงเป็นเหตุการณ์เชิงสัญลักษณ์ในหน้าประวัติศาสตร์อเมริกัน และนับแต่นั้นก็มีผู้ประท้วงทางการเมืองหลายรายอ้างตนเป็นผู้สืบทอดเชิงประวัติศาสตร์ของการประท้วงที่บอสตัน เช่น กลุ่ม[[ขบวนการงานเลี้ยงน้ำชา]] (Tea Party movement)
'''การ​เลี้ยง​น้ำ​ชา​ที่​บอ​สตัน​''' ({{lang-en|Boston Tea Party}}) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1773 เป็นเหตุการณ์ที่ชาวอาณานิคมในเมือง[[บอสตัน]] ประท้วงรัฐบาล[[อังกฤษ]]และเป็นชนวนสู่[[สงครามปฏิวัติอเมริกา]] เนื่องจากว่าก่อนหน้านี้ รัฐบาลอังกฤษได้มอบสิทธิบัตรให้[[บริษัทอินเดียตะวันออก]] (East India Company) ขายใบ[[ชา]]แก่ชาวอาณานิคมได้โดยตรง ทำให้พ่อค้าชาวอเมริกันเสียผลประโยชน์ นอกจากนี้รัฐบาลยังขึ้นภาษีชาที่จะส่งไปขายยังอังกฤษ ชาวอาณานิคมกลุ่มหนึ่งจึงประท้วงโดยการปลอมตัวเป็น[[ชาวอินเดียแดง]] แล้วลอบขึ้นไปบนเรือขนใบชาของอังกฤษ ซึ่งจอดอยู่ในอ่าวบอสตัน และโยนใบชาที่จะเตรียมขนไปยังประเทศอังกฤษลงทะเลไป
 
งานเลี้ยงน้ำชาดังกล่าวเป็นความสุกงอมของขบวนการต่อต้านพระราชบัญญัติชาที่เกิดขึ้นทั่วดินแดน[[อเมริกาของบริเตน]] ชาวอาณานิคมต่อต้านพระราชบัญญัตินี้ เพราะเชื่อว่า ขัดต่อ[[สิทธิของชาวอังกฤษ|สิทธิของพวกเขาในฐานะชาวอังกฤษ]] ไปจนถึงหลัก "[[ไม่จ่ายภาษีถ้าไม่มีผู้แทน]]" กล่าวคือ จะยอมจ่ายภาษีให้แก่ผู้แทนที่พวกตนเลือกตั้งมาเท่านั้น ไม่ใช่แก่รัฐสภาบริติชที่พวกตนไม่มีผู้แทนอยู่เลย เหล่าผู้ประท้วงประสบความสำเร็จในการขัดขวางไม่ให้ขนถ่ายชาภาษีจากบริเตนเข้าสู่อาณานิคมสามแห่ง แต่ในอาณานิคมบอสตัน [[Thomas Hutchinson (governor)|ธอมัส ฮัตชิงสัน]] (Thomas Hutchinson) ผู้ว่าการซึ่งเตรียมพร้อมรบอยู่แล้ว ได้สั่งห้ามส่งชากลับคืนไปยังบริเตน
== อ้างอิง ==
 
'''สารานุกรม รอบรู้รอบโลก'''. บริษัท รีดเดอร์ส ไดเจสท์ (ประเทศไทย), พ.ศ. 2542{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
ใน ค.ศ. 1774 รัฐสภาบริเตนตอบสนองด้วยการตรากฎหมายที่เรียก "[[พระราชบัญญัติเหลือทน]]" (Intolerable Acts) หรือ "พระราชบัญญัติบีบคั้น" (Coercive Acts) ซึ่งให้การปกครองตนเองใน[[รัฐแมสซาชูเซตส์|แมสซาชูเซตส์]]สิ้นสุดลง และ[[พระราชบัญญัติท่าบอสตัน|เลิกการค้าในบอสตัน]] นอกเหนือไปจากบทบัญญัติอื่น ๆ พลเมืองทั่วทั้ง[[สิบสามอาณานิคม]]ตอบโต้พระราชบัญญัติดังกล่าวโดยประท้วงหนักขึ้น และเรียก[[การประชุมใหญ่ประจำทวีปครั้งที่หนึ่ง|ประชุมใหญ่ประจำทวีปครั้งที่หนึ่ง]] (First Continental Congress) ซึ่งมีมติให้ถวาย[[ฎีกาต่อกษัตริย์|ฎีกา]]ต่อพระมหากษัตริย์บริติชให้ทรงยกเลิกพระราชบัญญัติและไกล่เกลี่ยการต่อต้านพระราชบัญญัติเหล่านั้น ทว่า วิกฤติการณ์ยากจะยุติ นำไปสู่[[สงครามปฏิวัติอเมริกา]]ใน ค.ศ. 1775
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Boston Tea Party}}