ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peerayut 2553 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Peerayut 2553 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาดสถานศึกษา}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| name = วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน
เส้น 25 ⟶ 24:
}}
 
[[วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน]] (Chetupon Commercial College)  เป็น[[วิทยาลัย|วิทยาลัยด้านพณิชยกรรมและบริหารธุรกิจ]] สังกัด[[สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร]] ตั้งอยู่ใน[[เขตราษฎร์บูรณะ]] [[กรุงเทพมหานคร]] โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปวช., ปวส. และปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)
[[วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน]] (Chetupon Commercial College) ก่อตั้งในวันที่ [[6 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2500]] โดย [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาน]] (สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17) ในการดำเนินงานครั้งแรกมี [[นายบัณฑิต บุญยาคม]] เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร [[ประกาศนียบัตรวิชาชีพ]]([[ปวช.]]) และ [[ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง]] ([[ปวส.]]) ในปัจจุบันวิทยาลัยได้เปิดการเรียนการสอนมาเป็นเวลาร่วม 57 ปี โดยในปี [[พ.ศ. 2552]] วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน ได้รับรางวัล [[สถานศึกษารางวัลพระราชทาน]] จาก [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]
 
== ประวัติวิทยาลัย ==
 
'''วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน''' เป็นสถานศึกษาด้าน[[พาณิชยกรรม]] อักษรย่อ พ.ต.และบริหารธุรกิจ ได้ก่อตั้งมาเป็นเวลากว่า 50 ปี โดยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2500]] โดย[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาน สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17]] อดีตเจ้าอาวาส[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] ในวันที่ [[6 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2500]] และชื่อเดิมคือ '''โรงเรียนวัดพระเชตุพนตั้งตรงจิตรวิทยาลัย''' ปัจจุบันคือ "วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพาณิชยการ" สังกัดกองโรงเรียนพาณิชย์และอุตสาหกรรม [[กรมอาชีวศึกษา]] [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ตั้งอยู่บริเวณสังฆาราม '''วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ท่าเตียน''' ในการจัดตั้งนั้นเพื่อรับนักเรียนไม่มีที่เรียน โดยขอเช่าอาคารโรงเรียนตั้งตรงจิตรวิทยาลัย ในปีแรก โรงเรียนได้เปิดสอนเพียง 3 สาขาวิชา คือ แผนกพณิชยการ แผนกเลขานุการ และแผนกภาษาต่างประเทศ
 
1. แผนกพณิชยการ
 
2. แผนกเลขานุการ
 
3. แผนกภาษาต่างประเทศ
 
การเปิดสอนครั้งแรกมี [[นายบัณฑิต บุณยาคม]] เป็น[[อาจารย์ใหญ่]] และในวันที่ [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2502]] มล.[[ปิ่น มาลากุล]] ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] ได้มาตรวจเยี่ยมโรงเรียน จึงริเริ่มโครงการขยายให้โรงเรียนกว้างขึ้น
เส้น 46 ⟶ 39:
หลังจากนั้นโรงเรียนได้เสนอขอเปลี่ยนชื่อเป็น '''โรงเรียนพณิชยการเชตุพน''' และคงยังให้ใช้อักษรย่อ พ.ต. ตามเดิม เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันได้ต่อเนื่องกัน
 
ปี 2516 โรงเรียนได้เปิดการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มี 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชา[[การบัญชี]] สาขาวิชาการ[[เลขานุการ]] และสาขาวิชา[[การตลาด]] และโรงเรียนพณิชยการเชตุพน ได้รับการยกฐานะ เป็น[[วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน]] ในวันที่ 1 [[ตุลาคม]] 2516
 
และในปี 2516 โรงเรียนพณิชยการเชตุพน ได้รับการยกฐานะ เป็น[[วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน]] ในวันที่ 1 [[ตุลาคม]] 2516 ในปีการศึกษา 2519 วิทยาลัยขออนุมัติเปิดการศึกษาพิเศษระดับประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ขึ้นอีกระดับหนึ่ง
1. สาขาวิชา[[การบัญชี]]
 
2. สาขาวิชาการ[[เลขานุการ]]
 
3. สาขาวิชา[[การตลาด]]
 
และในปี 2516 โรงเรียนพณิชยการเชตุพน ได้รับการยกฐานะ เป็น[[วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน]] ในวันที่ 1 [[ตุลาคม]] 2516 ในปีการศึกษา 2519 วิทยาลัยขออนุมัติเปิดการศึกษาพิเศษระดับประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ขึ้นอีกระดับหนึ่ง
 
ในปี 2524 กรมอาชีวศึกษาได้อนุมัติให้วิทยาลัยเปิดสอนประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการโดยจัดให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดได้แก่ กลุ่มวิชาการบัญชี กลุ่มวิชาการเลขานุการ และกลุ่มวิชาการขาย
เส้น 65 ⟶ 52:
ในปี 2538 วิทยาลัยได้เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) คือ'''กลุ่มวิชาธุรกิจโรงแรม ''และยังได้เปิดสอน"กลุ่มวิชาธุรกิจค้าปลีก"โดยได้รับความร่วมมือจากสถานประกอบการ คือ บริษัท ซี.พี.เซเว่นอีเลฟเว่น
 
ในปี 2540 วิทยาลัยได้เปิดสอนเพิ่มขึ้นอีก 1 สาขาวิชา คือ '''ธุรกิจประกันภัย''' และเนื่องจากมีผู้สนใจกรมอาชีวศึกษาได้อนุมัติให้วิทยาลัยเปิดสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใน'''ภาคสมทบ''' 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยที่ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับ ปวส.ภาคสมทบ จะต้องสำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. มีงานทำแล้วและประสงค์จะเพิ่มวุฒิการศึกษาขึ้น โดยทำมีการเรียนการสอนวันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา 17.30 - 21.00 น. และวันเสาร์ 13.00 - 20.00 น.
 
และในปี 2545 วิทยาลัยได้เปิดสอนวิชา '''อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว'''สาขางานการโรงแรม
ในปี 2540 วิทยาลัยได้เปิดสอนเพิ่มขึ้นอีก 1 สาขาวิชา คือ '''ธุรกิจประกันภัย''' และเนื่องจากมีผู้สนใจกรมอาชีวศึกษาได้อนุมัติให้วิทยาลัยเปิดสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใน'''ภาคสมทบ''' 3 สาขาวิชา คือ
 
1. สาขาวิชาการบัญชี
 
2. สาขาวิชาการตลาด
 
3.สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 
โดยที่ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับ ปวส.ภาคสมทบ จะต้องสำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. มีงานทำแล้วและประสงค์จะเพิ่มวุฒิการศึกษาขึ้น โดยทำมีการเรียนการสอนวันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา 17.30 - 21.00 น. และวันเสาร์ 13.00 - 20.00 น.
 
และในปี 2545 วิทยาลัยได้เปิดสอนวิชา '''อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว'''สาขางานการโรงแรม
 
 
ในปัจจุบันวิทยาลัยได้ผลิตบุคลากรทางธุรกิจ เพื่อให้เข้าถึงความต้องการของตลาดแรงงานและสังคม มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และมีคุณธรรม
เส้น 84 ⟶ 61:
== คณะผู้บริหารวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน ==
 
[[นายชัยฤทธิ์ แสงสว่าง]] ผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน
 
[[นางอรพิน จริยาธนเบญญา|นายศิรเมศร์ พัชราอริยธรณ์]] รองผู้อำนวยการ ฝ่ายวิชาการ