ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป้ายทะเบียนรถ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 26:
# ป้ายเขียวอักษรขาว คือ ป้ายทะเบียนรถยนต์บริการธุรกิจ รถยนต์บริการทัศนาจร และรถยนต์บริการให้เช่า
# ป้ายแสดอักษรดำ คือ ป้ายทะเบียนรถพ่วง รถบดถนน รถแทรกเตอร์ และรถใช้งานเกษตรกรรม
# ป้ายขาวอักษรดำ หมวดอักษร TC กรุงเทพมหานคร คือ ป้ายทะเบียนรถทดสอบก่อนผลิต เริ่มมีใช้ใน พ.ศ. 2560<ref name=TCplates">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/092/6.PDF ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อ งกําหนดหลักเกณฑ์งกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาต การอนุญาต และระยะเวลาในการใช้รถ และเครื่องหมายแสดงการใช้รถที่ใช้เพื่อการทดสอบ พ.ศ. ๒๕๖๐]</ref> (ป้ายทะเบียนรถยนต์ของไทยนั้นโดยปกติตัวอักษรจะเป็นอักษรไทย)
# ป้ายขาวอักษรดำ หมวดอักษร QC กรุงเทพมหานคร คือ ป้ายทะเบียนรถทดสอบคุณภาพ เริ่มมีใช้ใน พ.ศ. 2560<ref name=TCplates" />
# ป้ายทะเบียนที่บริเวณชื่อจังหวัดเป็นคำว่า THAILAND ตัวพิมพ์ใหญ่ ตามด้วยเลขรหัสจังหวัดสองหลัก และหมวดอักษรของทะเบียนเป็นอักษรอังกฤษ และ/หรือ ตัวเลข หมายถึงแผ่นป้ายทะเบียนรถที่กรมการขนส่งทางบกออกให้เป็นการชั่วคราวเพื่อนำรถออกไปใช้นอกราชอาณาจักร
บรรทัด 34:
เดือนสิงหาคม 2557 ได้เริ่มมีการประมูลป้ายรถตู้ พื้นขาว อักษรฟ้า หมวด ฮล เฉพาะจังหวัดกรุงเทพมหานคร ในครั้งนั้นได้เงินไปจำนวน 25,273,969.- บาท<ref>http://www.tabienrod.com/?cat=8</ref>
 
ป้ายทะเบียนรถเกิดขึ้นพร้อมกับกฎหมายว่าด้วย รถยนต์ฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติรถยนตร์รถยนต์ รัตนโกสินทร์ศก 128 (พ.ศ. 2452) ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีเจตนารมณ์เพื่อต้องการควบคุมรถและทราบว่าใครเป็น เจ้าของรถ และเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี
 
ถึงแม้ว่าจะมีป้ายทะเบียนรถเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 แต่ตามหลักฐานได้มีการออกกฎหมายของกระทรวงครั้งแรกเริ่ม มีป้ายทะเบียนรถตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 โดยรูปแบบเป็นแบบ กท.เรียงดิ่ง มีหมวดตัวอักษรและตัวเลขอยู่ในแผ่นป้าย ขนาดมาตรฐานกว้าง 11 ซม. ยาว 39 ซม. พื้นหลังเป็นสีดำ