ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหาอุปราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 12:
== สยาม ==
{{บทความหลัก|กรมพระราชวังบวรสถานมงคล}}
[[กฎมนเทียรบาลมณเฑียรบาล]]ซึ่งตราขึ้นในรัชสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]ระบุว่า''พระราชกุมารอันเกิดแต่แม่ยั่วเมืองเป็นพระมหาอุปราช''<ref>''ประชุมพระนิพนธ์ ภาค ๒'', หน้า 179</ref> ใน[[พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง]] ที่ออกในปี [[พ.ศ. 1998]] รัชกาลเดียวกันระบุว่าพระมหาอุปราชทรงศักดินา 100,000 ไร่ และ[[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]] กล่าวถึงตำแหน่ง'''พระมหาอุปราช'''ครั้งแรกว่า ระหว่างที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถครองเมืองพิษณุโลก [[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2|สมเด็จพระเชษฐาธิราชเจ้าธิราช]] พระราชโอรสทรงลาผนวช แล้วได้รับสถาปนาเป็นพระมหาอุปราชในปี จ.ศ. 847 ([[พ.ศ. 2028]])<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 400</ref>
 
ถึงรัชสมัย[[สมเด็จพระเพทราชา]] โปรดให้ตั้ง[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8|สมเด็จพระสรศักดิ]]เป็นพระมหาอุปราชที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]เป็นครั้งแรก<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 318</ref> ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลจึงอยู่ในฐานะพระมหาอุปราชรัชทายาทมานับแต่นั้นมา<ref>''พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)'', หน้า 24</ref> จนกระะทั่งกระทั่ง [[พ.ศ. 2439]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วสถาปนา[[สยามมกุฎราชกุมาร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] ขึ้นเป็นตำแหน่งของพระรัชทายาทแทน<ref>{{cite journal|journal=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/044/368.PDF|title= ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธย สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าราชกุมารพระองค์ใหญ่ เป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ|volume= เล่ม 3 |issue= ตอน 44 |date= 1 มีนาคม พ.ศ. 2429|accessdate=22 มีนาคม 2560|pages= 368}}</ref>
 
== อ้างอิง ==