ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิษวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Natjava (คุย | ส่วนร่วม)
Natjava (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 73:
1. ทางปาก <br />
2.ทางระบบทางเดินหายใจ<br />
3.ทางผิวหนัง<br />
<br />
 
'''การได้รับสารพิษแบบเฉียบพลัน''' (Acute exposure) หมายถึง การได้รับสารพิษในปริมาณมากในระยะเวลาน้อยกว่า 24 ชั่วโมง ส่วนใหญ่จะเป็นการฉีดเข้าช่องท้อง ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง การกิน หรือการทาที่ผิวหนังโดยตรง เป็นต้น<br />
'''การได้รับสารพิษแบบกึ่งเฉียบพลัน''' (Subacute exposure) หมายถึง การได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายในปริมาณน้อยติดต่อกันเป็นเวลา 1 เดือน หรือน้อยกว่า<br />
'''การได้รับสารพิษแบบกึ่งเรื้อรัง''' (Subchonic exposure) หมายถึง การได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายในปริมาณน้อยติดต่อกันเป็นเวลา 1-3 เดือน<br />
'''การได้รับสารพิษแบบเรื้อรัง''' (Chonic exposure) หมายถึง การได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายภายในปริมาณน้อยเป็นเวลานานเกิน 3 เดือนขึ้นไป<br />
<br /><br />
'''วิธีการป้องกันอันตรายจากสารพิษ'''<br />
1.พยายามหลีกเลี่ยงจากการใช้สารเคมีและสารพิษในการทำกิจกรรม<br />
2.ควรศึกษาและทำความเข้าใจวิธีการใช้สารเคมี และอันตรายที่เกิดขึ้นแต่ละชนิด<br />
3.ควรใช้อุปกรณื เครื่องมือในการป้องกันอันตรายขณะที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมี<br />
4.ควรมีการตรวจสุขภาพสำหรับผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสารพิษและสารเคมี อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง<br />
5.พยายามหลีกเลี่ยงการอยู่ในบริเวณที่มีสารเคมี เพื่อป้องกันสารพิษเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง ทางปากและทางจมูก<br />
6.เมื่อต้องใช้สารเคมี ควรอ่านฉลากกำกับให้เข้าใจก่อนใช้ และควรปฏิบัติตามคำเตือนอย่างเคร่งครัด<br />
7.อย่าทิ้งภาชนะที่บรรจุสารเคมี หรือสารพิษลงไปในแม่น้ำ ลำธาร <br />
8.ภาชนะที่บรรจุสารเคมีหรือสารพิษ เมื่อใช้หมดแล้วให้ฝังดินหรือทำลายโดยทันที
 
== อ้างอิง ==