ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พะโค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox settlement
| native_name = {{nobold|{{my|ပဲခူးပဲခူးမြို့}}}}
| official_name = พะโค
| pushpin_label_position = bottom
บรรทัด 41:
| website =
}}
[[ไฟล์:Shwethalyaungbuddhabago.jpg|thumb|right|[[พระนอนชเวตาลยอง]] หนึ่งในสัญลักษณ์ของเมืองหงสาวดี]]
 
'''พะโค''' ({{lang-my|ပဲခူးမြို့}}, {{lang-roman|Bago หรือ Pegu}}) หรือชื่อในอดีตคือ '''หงสาวดี''' ({{lang-my|ဟံသာဝတီ}}, [hɔŋsawətɔe] ''หงสาวะโตย''; {{lang-roman|Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy}}) เป็นเมืองหลวงของ[[เขตหงสาวดี]] ตั้งอยู่ใกล้เมือง[[เมาะตะมะ]] ทางตอนใต้ของประเทศพม่า ซึ่งอยู่ทางใต้ของ [[แปร|เมืองแปร]], [[เมืองคัง]], [[ยะไข่]], [[อังวะ]] และ[[พุกาม]]
เส้น 48 ⟶ 47:
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Shwethalyaungbuddhabago.jpg|thumb|rightleft|[[พระนอนชเวตาลยอง]] หนึ่งในสัญลักษณ์ของเมืองหงสาวดี ความยาว 177 ฟุต (54 ม) สร้างปี ค.ศ 994 สมัยกษัตริย์มอญ]]
หงสาวดีตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำพะโค]] เป็นเมืองของ[[ชาวมอญ]]มาก่อนในอดีต ก่อนที่[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]จะยึดครองได้ ในปี [[พ.ศ. 2082]]หลังจากที่พระเจ้าตะเบ็งชเวตี้เข้ามาทำพิธีเจาะพระกรรณที่ฐานพระธาตุมุเตาขณะที่ยังอยู่ในเขตของมอญอยู่ และสถาปนาเป็นศูนย์กลางอำนาจของ[[ราชวงศ์ตองอู]] เดิมเมืองหงสาวดีเก่า (ยุคมอญ) อยู่บริเวณตะวันออกของพระธาตุมุเตา ต่อมาจึงย้ายและสร้างให้ใหญ่กว่าเดิมในยุคพม่า หงสาวดีเจริญรุ่งเรืองสุดขีดในรัชสมัยของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]] เนื่องจากพระองค์ให้ทรงสร้างพระราชวังของพระองค์ที่ชื่อ [[พระราชวังกัมโพชธานี|กัมโพชธานี]] ซึ่งนับเป็นพระราชวังใหญ่โตมีประตูทางเข้าออกถึง 10 ประตู สร้างโดยเกณฑ์ข้าทาสจากเมืองขึ้นต่าง ๆ โดยหนึ่งในนั้นมีเมือง[[เชียงใหม่]]และ[[อยุธยา]]รวมอยู่ด้วย จนถึงสมัย[[พระเจ้านันทบุเรง]]หลังศึกยุทธหัตถีแล้ว นัดจินหน่องได้ผูกมิตรกับเมืองยะไข่และอยุธยาเพื่อเข้าตีหงสาวดี แต่มหาเถรเสียมเพรียมได้ยุยงให้ตองอูไม่เข้ากับอยุธยา ดังนั้นเมื่อทัพตองอูมาถึงหงสาวดีก็ได้เข้าตีและล้อมเมืองเอาไว้ เมื่อทางหงสาวดีทราบข่าวว่าพระนเรศวรปราบทหารตามแนวชายแดนสำเร็จแล้วจึงเปิดประตูเมืองรับทัพตองอู พระเจ้านันทบุเรงมอบสิทธิ์ขาดในการบัญชาการทัพแก่นัดจินหน่องและเชิญพระเจ้านันทบุเรงไปประทับ ณ ตองอู เพื่อเตรียมรับทัพพระนเรศวร ตองอูได้กวาดต้อนพลเรือนและทรัพย์สินไปยังตองอู ทิ้งเมืองให้ยะไข่ปล้นและเผาเมือง ส่วนพระนเรศวรมาถึงหงสาวดีก็เหลือแต่เมืองที่ถูกเผาแล้ว พระนเรศวรจึงยกทัพไปตีตองอูต่อ หลังจากนั้น ศูนย์กลางอำนาจของพม่าได้ย้ายไปยังอังวะ, อมรปุระ และมัณฑะเลย์ตามลำดับ จนถึงวันที่พม่าเสียเอกราชให้แก่[[จักรวรรดิอังกฤษ|อังกฤษ]]
หงสาวดีตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำพะโค]] เป็นเมืองของ[[ชาวมอญ]]มาก่อนในอดีต พระเจ้าตะเบ็งชเวตี้เคยเสด็จเข้ามาทำพิธีเจาะพระกรรณที่ฐานพระธาตุมุเตาขณะที่ยังอยู่ในเขตของมอญอยู่ ก่อนที่[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]จะทำสงครมยึดครองหงสาวดีจากชาวมอญ ในปี [[พ.ศ. 2082]] และสถาปนาเป็นศูนย์กลางอำนาจของ[[ราชวงศ์ตองอู]] เดิมเมืองหงสาวดีเก่ายุคมอญอยู่บริเวณตะวันออกของพระธาตุมุเตา ต่อมาจึงย้ายและสร้างให้ใหญ่กว่าเดิมในยุคพม่า
 
หงสาวดีตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำพะโค]] เป็นเมืองของ[[ชาวมอญ]]มาก่อนในอดีต ก่อนที่[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]จะยึดครองได้ ในปี [[พ.ศ. 2082]]หลังจากที่พระเจ้าตะเบ็งชเวตี้เข้ามาทำพิธีเจาะพระกรรณที่ฐานพระธาตุมุเตาขณะที่ยังอยู่ในเขตของมอญอยู่ และสถาปนาเป็นศูนย์กลางอำนาจของ[[ราชวงศ์ตองอู]] เดิมเมืองหงสาวดีเก่า (ยุคมอญ) อยู่บริเวณตะวันออกของพระธาตุมุเตา ต่อมาจึงย้ายและสร้างให้ใหญ่กว่าเดิมในยุคพม่า หงสาวดีเจริญรุ่งเรืองสุดขีดในรัชสมัยของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]] เนื่องจากพระองค์ให้ทรงสร้างพระราชวังของพระองค์ที่ชื่อ [[พระราชวังกัมโพชธานี|กัมโพชธานี]] ซึ่งนับเป็นพระราชวังใหญ่โตมีประตูทางเข้าออกถึง 10 ประตู สร้างโดยเกณฑ์ข้าทาสจากเมืองขึ้นต่าง ๆ โดยหนึ่งในนั้นมีเมือง[[เชียงใหม่]]และ[[อยุธยา]]รวมอยู่ด้วย จนถึงสมัย[[พระเจ้านันทบุเรง]]หลังศึกยุทธหัตถีแล้ว นัดจินหน่องได้ผูกมิตรกับเมืองยะไข่และอยุธยาเพื่อเข้าตีหงสาวดี แต่มหาเถรเสียมเพรียมได้ยุยงให้ตองอูไม่เข้ากับอยุธยา ดังนั้นเมื่อทัพตองอูมาถึงหงสาวดีก็ได้เข้าตีและล้อมเมืองเอาไว้ เมื่อทางหงสาวดีทราบข่าวว่าพระนเรศวรปราบทหารตามแนวชายแดนสำเร็จแล้วจึงเปิดประตูเมืองรับทัพตองอู พระเจ้านันทบุเรงมอบสิทธิ์ขาดในการบัญชาการทัพแก่นัดจินหน่องและเชิญพระเจ้านันทบุเรงไปประทับ ณ ตองอู เพื่อเตรียมรับทัพพระนเรศวร ตองอูได้กวาดต้อนพลเรือนและทรัพย์สินไปยังตองอู ทิ้งเมืองให้ยะไข่ปล้นและเผาเมือง ส่วนพระนเรศวรมาถึงหงสาวดีก็เหลือแต่เมืองที่ถูกเผาแล้ว พระนเรศวรจึงยกทัพไปตีตองอูต่อ หลังจากนั้น ศูนย์กลางอำนาจของพม่าได้ย้ายไปยังอังวะ, อมรปุระ และมัณฑะเลย์ตามลำดับ จนถึงวันที่พม่าเสียเอกราชให้แก่[[จักรวรรดิอังกฤษ|อังกฤษ]]
อีกหนึ่งสัญลักษณ์ของหงสาวดี คือ พระธาตุชเวมอดอ หรือที่คนไทยนิยมเรียกว่า [[พระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ|พระธาตุมุเตา]] เป็นพระธาตุที่อยู่มานานคู่กับเมือง เป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองเชื่อว่าภายในได้บรรจุ[[พระบรมสารีริกธาตุ]]ของ[[พระพุทธเจ้า]]ไว้ เล่ากันว่าเมื่อครั้งใดที่ พระเจ้าบุเรงนองจะออกทำศึกจะทรงสักการะขอพรจากพระธาตุนี้ทุกครั้ง และเมื่อครั้ง[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ได้เสด็จมายังที่หงสาวดีนี้ก็ได้ทำการสักการะพระธาตุนี้ด้วย
 
== สัญลักษณ์ของเมือง ==
สัญลักษณ์เป็นรูป[[หงส์]]คู่ มี[[ตำนาน]]ของชาวมอญเล่าว่า [[พระสมณโคดม|พระพุทธเจ้า]]เสด็จมาถึงเมืองหงสาวดีที่สมัยก่อนยังคงเป็นชายหาดริมทะเล พระพุทธเจ้าทรงเห็น หงส์สองตัวว่ายน้ำเล่นกัน จึงทำนายออกมาว่าภายหลังจะเป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรือง ชาวชาวมอญจึงถือเอาตำนานเรื่องนี้มาเป็นสัตว์สัญลักษณ์ของเมือง นอกจากนี้ ตำนานยังกล่าวว่า หงส์คู่นั้น ตัวเมียขี่ตัวผู้ จึงมีคำทำนายว่าต่อไปผู้หญิงจะเป็นใหญ่ ซึ่งผู้หญิงคนนั้นคือ [[พระนางเชงสอบู]] (ตะละแม่ท้าว) กษัตรีย์ของชาวมอญนั่นเอง
 
อีกหนึ่งสัญลักษณ์ของหงสาวดี คือ พระธาตุชเวมอดอ หรือที่คนไทยนิยมเรียกว่า [[พระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ|พระธาตุมุเตา]] เป็นพระธาตุที่อยู่มานานคู่กับเมืองมานาน เป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองที่เชื่อว่าภายในได้บรรจุ[[พระบรมสารีริกธาตุ]]ของ[[พระพุทธเจ้า]]ไว้ เล่ากันว่าเมื่อครั้งใดที่ พระเจ้าบุเรงนองจะออกทำศึกจะทรงสักการะขอพรจากพระธาตุนี้ทุกครั้ง และเมื่อครั้ง[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ได้เสด็จมายังที่หงสาวดีนี้ก็ได้ทำการสักการะพระธาตุนี้ด้วย
 
ปัจจุบัน หงสาวดีเป็นเมืองที่ทำรายได้ให้แก่ประเทศพม่าด้วยความที่เป็นเมืองท่องเที่ยว มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และศิลปะ วัฒนธรรม
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พะโค"