ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยางพารา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tana113 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tana113 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรูปภาพ ยางพาราที่ผ่านการกรีดแล้ว
บรรทัด 120:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! Tjir 1 x PB 86
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมปลายใบ สีเขียวอมเหลือง ลักษณะฉัตรใบเป็นรูปกรวยมีขนาดเล็ก ในระยะ 2 ปีแรกต้นยางจะมีลักษณะลำต้นตรง แต่เรียวเล็ก การแตกกิ่งช้า ลักษณะการแตกกิ่งเป็นมุมแหลม กิ่งที่แตกค่อนข้างยาว ทรงพุ่มมีขนาดปานกลางเป็นรูปพัด เริ่มผลัดใบเร็ว
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || ในระยะก่อนเปิดกรีดและระหว่างกรีดการเจริญเติบโตปานกลาง เปลือกเดิมบาง เปลือกงอกใหม่หนาปานกลาง ผลผลิตระยะแรกอยู่ในระดับปานกลาง แต่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในปีต่อมา ให้ผลผลิตเนื้อยาง 10 ปีกรีดเฉลี่ย 289 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี อ่อนแอมากต่อโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราและ โรคเส้นดำ ต้านทานโรคราแป้งและโรคใบจุดนูนระดับปานกลาง อ่อนแอต่อโรคราสีชมพู ต้านทานลมระดับปานกลาง
|-
| ลักษณะดีเด่น || การปรับตัวและให้ผลผลิตได้ดีในเกือบทุกพื้นที่ ทนทานต่อการกรีดถี่ได้มากกว่าพันธุ์อื่น ๆ และมีจำนวนต้นแสดงอาการเปลือกแห้งน้อย
|-
| ข้อจำกัด/ข้อควรระวัง || อ่อนแอมากต่อโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา โรคเส้นดำ และอ่อนแอ ต่อโรคราสีชมพู เปลือกเดิมบาง
|-
| พื้นที่แนะนำ || ปลูกได้ในพื้นที่ทั่วไป ยกเว้นในพื้นที่ที่มีโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโท ราปโทรา เส้นดำ และโรคราสีชมพูระบาดรุนแรง พื้นที่ที่มีหน้าดินตื้น และพื้นที่ที่มี ระดับน้ำใต้ดินสูง
|}
 
บรรทัด 137:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! PB5/51 x PB S/78
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมกลางใบ สีเขียว ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปกรวย ระยะยางอ่อน แตกกิ่งเร็ว พุ่มใบค่อนข้างทึบ ลักษณะลำต้นตรงดี กิ่งมีขนาดเล็กจำนวนมาก เมื่ออายุมากทิ้งกิ่งมาก เหลือกิ่งขนาดกลาง 4 – 5 กิ่งในระดับสูง ทำให้พุ่มใบ บาง ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่เป็นรูปกลม เริ่มผลัดใบช้าและทยอยผลัดใบ
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || ในระยะก่อนเปิดกรีดการเจริญเติบโตดีในทุกพื้นที่ และระหว่างกรีดการ เจริญเติบโตปานกลาง เปลือกเดิมหนาปานกลาง เปลือกงอกใหม่บางผลผลิต เนื้อยาง 10 ปีกรีดเฉลี่ย 330 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ร้อย ละ 37 ในช่วงอายุ 15 ปี และ 20 ปี ให้ผลผลิตเนื้อไม้ส่วนลำต้น 0.30 ลูกบาศก์ เมตรต่อต้น และ 0.41 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น คิดเป็น 6.75 22.34 และ 28.09 ลูกบาศก็เมตรต่อไร่ตามลำดับ มีจำนวนต้นเปลือกแห้งค่อนข้างมาก ต้านทาน โรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราและโรคเส้นดำระดับปานกลาง อ่อนแอ มากต่อโรคราแป้งและโรคใบจุดนูน ต้านทานโรคราสีชมพูระดับดี และ ต้านทานลมระดับปานกลาง
|-
| ลักษณะดีเด่น || ให้ผลผลิตน้ำยางและเนื้อไม้สูง การเจริญเติบโตดีมากในทุกพื้นที่ และ ต้านทานต่อโรคราสีชมพูระดับดี
|-
| ข้อจำกัด/ข้อควรระวัง || อ่อนแอมากต่อโรคราแป้ง และ โรคใบจุดนูน ไม่แนะนำการกรีดที่มีวันกรีด ติดต่อกัน เพราะจะทำให้ผลผลิตลดลงและต้นยางแสดงอาการเปลือกแห้งได้ ง่าย
|-
| พื้นที่แนะนำ || ปลูกได้ในพื้นที่ทั่วไป ยกเว้นในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหน้าดินตื้น และพื้นที่ ที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง
|}
 
บรรทัด 153:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! PB 5/51 x PB 32/36
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมกลางใบ สีเขียวอ่อน ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลม ลักษณะลำต้นตรง ระยะยางอ่อนแตกกิ่งเร็ว กิ่งมีขนาดเล็กจำนวนมาก พุ่มใบ ทึบ ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่เป็นรูปกลม เริ่มผลัดใบค่อนข้างช้า
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || ในระยะก่อนเปิดกรีดการเจริญเติบโตดี และระหว่างกรีดการเจริญเติบโตปาน กลางปานกลาง เปลือกเดิมและเปลือกงอกใหม่หนา ผลผลิตเนื้อยาง 10 ปีกรีดเฉลี่ย 318 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ร้อยละ 46 ในช่วงอายุ 15 ปี และ 20 ปี ให้ผลผลิตเนื้อไม้ส่วนลำต้น 0.28 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น และ 0.39 ลูกบาศก็เมตรต่อต้น คิดต้นคิดเป็น 6.26 21.57 และ 27.24 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตามลำดับ มีจำนวนต้นเปลือกแห้งปานกลาง อ่อนแอต่อโรคใบร่วงที่เกิดจาก เชื้อไฟทอปโทรา โรคใบจุดนูน และโรคราสีชมพู ต้านทานโรคราแป้ง และ โรคเส้นดำระดับปานกลาง ต้านทานลมระดับค่อนข้างดี
|-
| ลักษณะดีเด่น || ผลผลิตเนื้อยางและเนื้อไม้สูง เปลือกหนานิ่มกรีดง่าย และต้านทานลม ค่อนข้างดี
|-
| ข้อจำกัด/ข้อควรระวัง || อ่อนแอต่อโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา โรคใบจุดนูน และโรคราสี ชมพู ไม่แนะนำการกรีดที่มีวันกรีดติดต่อกัน เพราะจะทำให้ผลผลิตลดลง และต้นยางแสดงอาการเปลือกแห้งได้ง่าย
|-
| พื้นที่แนะนำ || ปลูกได้ในพื้นที่ทั่วไป ทั้งในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหน้าดินตื้น และพื้นที่ที่มี ระดับน้ำใต้ดินสูง ยกเว้นพื้นที่ที่มีโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา ใบ จุดนูน และโรคราสีชมพู ระบาดรุนแรง
|}
 
บรรทัด 169:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! PB 5/51 x PB 49
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมปลายใบ สีเขียวเข้ม ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปกรวย ลักษณะลำต้นตรง การแตกกิ่งสมดุลยดี กิ่งมีขนาดเล็กจำนวนมาก พุ่มใบทึบ อายุมากทิ้ง กิ่งด้านล่าง ทำให้พุ่มใบค่อนข้างบาง ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่เป็นรูปรี เริ่มผลัดใบ ค่อนข้างช้า
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || ในระยะก่อนเปิดกรีดการเจริญเติบโตดี และระหว่างกรีดการเจริญเติบโตปาน กลาง เปลือกเดิมหนาปานกลาง เปลือกงอกใหม่บาง ผลผลิตเนื้อยาง 10 ปีกรีด เฉลี่ย 322 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ร้อยละ 32 ในช่วงอายุ 15 ปี และ 20 ปี ให้ผลผลิตเนื้อไม้ส่วนลำต้น 0.26 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น และ 0.36 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น คิดเป็น 19.90 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น และ 25.53 ลูกบาศก็เมตรต่อไร่ตามลำดับ มีจำนวนต้นเปลือกแห้งปานกลาง ต้านทาน โรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา โรคราแป้ง โรคใบจุดนูน และโรคเส้น ดำในระดับปานกลาง ต้านทานดีต่อโรคราสีชมพู ต้านทานต่อลมในระดับ ค่อนข้างดี
|-
| ลักษณะดีเด่น || ผลผลิตเนื้อยางและเนื้อไม้สูง ต้านทานดีต่อโรคราสีชมพู และต้านทานลม ค่อนข้างดี
|-
| ข้อจำกัด/ข้อควรระวัง || ไม่แนะนำการกรีดที่มีวันกรีดติดต่อกัน เพราะจะทำให้ต้นยางแสดงอาการ เปลือกแห้งได้ง่าย
|-
| พื้นที่แนะนำ || ปลูกได้ในพื้นที่ทั่วไป
บรรทัด 185:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! LCB1320 X RRIC 7
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมปลายใบ สีเขียวเข้ม ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปกรวย ลักษณะลำต้นตรง ในช่วงยางอ่อนแตกกิ่งขนาดกลางและเล็กจำนวนมาก พุ่มใบทึบ อายุ มากทิ้งกิ่งด้านล่าง เหลือกิ่งขนาดใหญ่ 2 – 3 กิ่ง ทำให้พุ่มใบค่อนข้างบาง ทรง พุ่มมีขนาดใหญ่เป็นรูปพัด เริ่มผลัดใบช้า
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || ในระยะก่อนเปิดกรีดการเจริญเติบโตดีมาก และระหว่างกรีดการเจริญเติบโต ปานกลาง เปลือกเดิมหนาและเปลือกงอกใหม่บาง ผลผลิตเนื้อยาง 10 ปีกรีด เฉลี่ย 324 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ร้อยละ 27 ในช่วงอายุ 15 ปี และ 20 ปี ให้ผลผลิตเนื้อไม้ส่วนลำต้น 0.29 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น และ 0.40 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น คิดเป็น 21.86 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่และ 27.55 ลูกบาศก็เมตรต่อไร่ตามลำดับ มีจำนวนต้นเปลือกแห้งปานกลาง ต้านทาน โรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราระดับดี ต้านทานต่อโรคราแป้ง โรคใบ จุดนูน โรคเส้นดำ และโรคราสีชมพูในระดับปานกลาง ต้านทานลมในระดับ ปานกลาง
|-
| ลักษณะดีเด่น || ผลผลิตเนื้อยางและเนื้อไม้สูง การเจริญเติบโตดีมากในระยะก่อนเปิดกรีดต้น ยางทำให้เปิดกรีดได้เร็ว ต้านทานโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราระดับดี
|-
| ข้อจำกัด/ข้อควรระวัง || เปลือกบาง และน้ำยางเมื่อนำไปทำเป็นยางแผ่นดิบสีค่อนข้างคล้ำ
|-
| พื้นที่แนะนำ || ปลูกได้ในพื้นที่ทั่วไป ยกเว้นในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหน้าดินตื้น พื้นที่ที่มี ระดับน้ำใต้ดินสูง และพื้นที่ลมแรง
|}
 
บรรทัด 203:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! RRIC 110 ill.
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมปลายใบ สีเขียวเข้ม ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปกรวย ในช่วงยาง อ่อนแตกกิ่งขนาดกลางและเล็กจำนวนมาก การแตกกิ่งอยู่ในระดับสูง ลักษณะการแตกกิ่งสมดุล รูปทรงลำต้นตรง มีลักษณะกลม ทรงพุ่มขนาด ค่อนข้างใหญ่ เริ่มผลัดใบเร็ว
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || การเจริญเติบโตดีมาก ในช่วงอายุ 6 ปี มีปริมาตรไม้ในส่วนท่อนซุง 0.11 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น คิดเป็น 7.76 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ต้านทานโรคใบร่วงที่ เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราและโรคราแป้งระดับปานกลาง ต้านทานโรคใบจุด นูนระดับดี
บรรทัด 219:
! แม่ - พ่อพันธุ์ !! AVROS 163 x AVROS 308
|-
| ลักษณะประจำพันธุ์ || ใบมีรูปร่างป้อมกลางใบ สีเขียวเข้ม ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลม ในช่วงยางอ่อนแตกกิ่งระดับต่ำ การแตกกิ่งสมดุล กิ่งมีขนาดเล็กจำนวนมาก ทรงพุ่มเป็นรูปกรวย พุ่มใบทึบ เมื่ออายุมากทิ้งกิ่งเหลือกิ่งขนาดใหญ่ 3 – 5 กิ่ง ในระดับสูง ทำให้ทรงพุ่มโปร่ง รูปทรงลำต้นตรง มีลักษณะกลม เริ่มผลัดใบ เร็ว
|-
| ลักษณะทางการเกษตร || การเจริญเติบโตดีมาก ในช่วงอายุ 6 ปี 15 ปี และ 20 ปี ให้ผลผลิตเนื้อไม้ส่วน ลำต้น 0.10 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น 0.31 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น และ 0.43 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น คิดเป็น 7.12 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ 22.91 ลูกบาศก์ต่อไร่ และ 28.73 ลูกบาศก็เมตรต่อไร่ตามลำดับ ต้านทานโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อ ไฟเชื้อไฟทอปโทราระดับดี ต้านทานต่อโรคราแป้ง โรคใบจุดนูน และโรคราสีชมพู ระดับปานกลาง และต้านทานลมในระดับค่อนข้างดี
|-
| ลักษณะดีเด่น || การเจริญเติบโตดีมาก ต้านทานโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราระดับดี และต้านทานลมในระดับค่อนข้างดี
บรรทัด 231:
 
'''พันธุ์ยางพาราในภาคใต้'''
*ภาคใต้เขตฝั่งตะวันตก ได้แก่จังหวัดระนอง ภูเก็ต พังงา ส่วนใหญ่ของจังหวัดกระบี่ ตอน เหนือของจังหวัดตรัง และทางตอนใต้ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่ในเขตนี้มีปริมาณน้ำฝนระหว่าง 2,000 – 5,000 มิลลิเมตรต่อปี จำนวนวันฝนตก 161 – 227 วันต่อปี อาจจะมีลมแรงที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อต้นยางในบางพื้นที่ของจังหวัดภูเก็ต ดังนั้นปัจจัยสำคัญที่ใช้ในการเลือกพันธุ์ยางเพื่อปลูกใน เขตนี้ คือโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา โรคเส้นดำ และโรคใบจุดนูน ที่โดยส่วนใหญ่เกิดกับต้นยางอายุน้อย
*พันธุ์ยางที่แนะนำ กลุ่ม 1 สถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง 226 BPM 24
*กลุ่ม 2 PB 235 PB 260 RRIC 110
*ภาคใต้เขตตอนกลาง ได้แก่ จังหวัดชุมพร พื้นที่ทางด้านตะวันออกและส่วนกลางของจังหวัด สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ด้านตะวันออกของจังหวัดกระบี่ ตรัง (ยกเว้นทางตอนเหนือ) พัทลุง สงขลา (ยกเว้นบริเวณชายแดนที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย) พื้นที่ในเขตนี้มีปริมาณน้ำฝน ระหว่าง 1,800 – 2,600 มิลลิเมตรต่อปี จำนวนวันฝนตก 159 – 174 วันต่อปี เป็นเขตที่ไม่มีข้อจำกัด ในการเลือก พันธุ์ยาง สามารถปลูกได้ทุกพันธุ์ที่แนะนำ
*ภาคใต้เขตตอนใต้ ได้แก่จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส (ยกเว้นบริเวณที่อยู่ติดเขต ชายแดนของประเทศมาเลเซีย) พื้นที่ในเขตนี้มีปริมาณน้ำฝน ระหว่าง 2,000 – 3,000 มิลลิเมตรต่อปี จำนวนวันฝนตก 159 – 174 วันต่อปี เขตนี้อาจมีปัญหาการระบาดของโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอป โทราปโทรา โรคเส้นดำ และโรคจุดนูนในบางปีที่มีปริมาณน้ำฝนมาก และบางพื้นที่ในจังหวัดยะลา และ นราธิวาสอาจมีปัญหาเนื่องจากสภาพลมแรง
*พันธุ์ยางที่แนะนำ กลุ่ม 1 สถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง 226 BPM 24
กลุ่ม 2 PB 235 PB 260
หมายเหตุ บางพื้นที่ในจังหวัดยะลา และนราธิวาส ที่มีลมแรงไม่ควรปลูกยางพันธุ์ สถาบันวิจัย ยาง 251
*ภาคใต้เขตชายแดน ได้แก่จังหวัดสตูล บางส่วนของจังหวัดสงขลา ยะลา นราธิวาส และบริเวณ ชายแดนที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย พื้นที่ในเขตนี้มีปริมาณน้ำฝนระหว่าง 2,500 – 3,000 มิลลิเมตรต่อปี จำนวนวันฝนตก 165 – 175 วันต่อปี มีการระบาดของโรคราสีชมพู โรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา และโรคเส้นดำ
*พันธุ์ยางที่แนะนำ กลุ่ม 1 สถาบันวิจัยยาง 251 BPM 24 RRIC 110
กลุ่ม 2 PB 260
 
 
เส้น 261 ⟶ 260:
 
== ระเบียงภาพ ==
[[ไฟล์:ยางพารา.jpg|thumb|ยาพาราที่ผ่านการกรีดแล้ว]]
<gallery>
ไฟล์:Rubber_tree_plantation.JPG|สวนยางที่จังหวัด[[ภูเก็ต]]