ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถั่วงอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sirapatsornjune (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
ถั่วงอกมีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน คิดค้นเพาะขึ้นโดยคนจีน เมื่อคนจีนอพยพย้ายถิ่นฐานมาเข้ามาทำมาหากินในประเทศไทยก็นำเอาวัฒนธรรมการกินถั่วงอกเข้ามาด้วย โดยเชื่อกันว่าคนจีนเริ่มเพาะถั่วงอกในเมืองไทยเมื่อประมาณ 80 กว่าปี นี้นี่เอง โดยแรกๆก็เพาะกินกันเองแต่ต่อมาก็ตั้งเป็นโรงงานเพาะขายในหมู่คนจีนด้วยกันเอง ในกรุงเทพ เริ่มแรกมีโรงงานเพาะถั่วงอก 2 โรงงานตั้งอยู่แถวอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ต่อมาปี พ.ศ. 2485 เกิดน้ำท่วมใหญ่ในกรุงเทพ ทำให้ไม่สามารถปลูกพืชผักได้ ทำให้เกิดการขาดแคลนผัก ซึ่งถือว่าเป็นอาหารหลักของคนไทย ทางราชการจึงหันมาส่งเสริมให้หันมาบริโภคถั่วงอกกันมากขึ้น เพราะเห็นว่าเพาะง่าย ราคาถูก ใช้เวลาสั้น ประกอบกับคนไทยเริ่มนิยมบริโภคก๋วยเตี๋ยวกันมากขึ้น ทำให้การบริโภคถั่วงอกเป็นที่นิยมแพร่หลายจนมาถึงปัจจุบัน และมีพ่อค้าตั้งโรงงานเพาะถั่วงอกออกจำหน่ายหลายราย ซึ่งส่วนใหญ่ก็ยังเป็นคนจีน แต่วิธีการเพาะถั่วงอกนั้นง่ายไม่ยุ่งยากและลงทุนต่ำ จึงได้แพร่หลายออกไปจนชาวบ้านทั่วไปก็สามารถเพาะถั่วงอกกินเองได้
== หลักการพื้นฐานในการเพาะถั่วงอก ==
อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า ถั่วงอก คือ หน่ออ่อนที่งอกออกมาจากเมล็ดถั่ว อาศัยธาตุอาหารที่สะสมอยู่ในเมล็ดถั่ว โดยเรานำถั่วไปเพาะในภชนะที่มีความชื้นและความร้อน หรืออุณหภูมิที่พอเหมาะโดยไม่ให้โดนแสงสว่าง เพื่อไม่ให้รากและใบเลี้ยงงอกออกมา ภายในระยะเวลา 2-3 วัน ก็จะได้ถั่วงอกนำไปรับประทานหรือจำหน่าย
 
ดังนั้น องค์ประกอบที่สำคัญในการเพาะถั่วงอก จึงมีอยู่ 3 อย่าง คือ
1. เมล็ดถั่ว ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะถั่วงอกที่เพาะมาจากถั่วเขียวเท่านั้น หากใครสนใจการเพาะถั่วงอกจากถั่วชนิดอื่นๆ เช่น ถั่วเหลือง ถั่วดำ ถั่วแดง ถั่วลันเตา หรือแม้แต่เมล็ดธัญพึชอื่นๆ เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด งา สามารถศึกษาหรืออ่านได้จากวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ ฉบับมหัศจรรย์เมล็ดงอก : พลังอาหาร พลังชีวิต ( ฉบับที่ 322542 )
 
1. เมล็ดถั่ว ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะถั่วงอกที่เพาะมาจากถั่วเขียวเท่านั้น หากใครสนใจการเพาะถั่วงอกจากถั่วชนิดอื่นๆ เช่น ถั่วเหลือง ถั่วดำ ถั่วแดง ถั่วลันเตา หรือแม้แต่เมล็ดธัญพึชอื่นๆ เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด งา สามารถศึกษาหรืออ่านได้จากวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ ฉบับมหัศจรรย์เมล็ดงอก : พลังอาหาร พลังชีวิต ( ฉบับที่ 322542 )
เมล็ดถั่วเขียวที่สามารถนำมาเพาะเป็นถั่วงอกนั้นมี 2 พันธุ์ คือ ถั่วเขียวผิวมัน กับถั่วเขียวผิวดำ ถั่วเขียวผิวมัน มีแหล่งปลูกอยู่แถวเพชรบูรณ์ เมล็ดมีสีเขียวและมีผิวมันเมื่นำมาเพาะแล้วจะได้ถั่วงอก ต้นโตออกสีเหลืองๆและมีอัตราการเจริญเติบโตดีกว่าถั่วเขียวผิวดำ ถัวเขียวผิวดำมีแหล่งปลูกอยู่ที่สุโขทัย เมล็ดมีสีดำเมื่อนำมาเพาะจะได้ถั่วงอกที่ต้นเล็กกว่า และมีสีขาว แต่มีอัตราการเจริญเติบโตสู้ถั่วเขียวผิวมันไม่ได้ แต่ข้อดีก็ คือ ถั่วงอกที่เพาะจากถั่วเขียวผิวดำ จะมีความคงทน คือ จะยังคงขาวอยู่สีไม่ออกคล้ำ หรือเขียวมากเหมือนกับถั่วงอกที่เพาะจากถั่วเขียวผิวมันเมื่อโดนลมหรือโดนแสงแดด
 
2. ภานชนะเพาะ โดยหลักการแล้วภานชนะเพาะทำหน้าที่ที่สำคัญอยู่ 2 ประการ คือ ป้องกันถั่วไม่ให้โดนแสงสว่างกับสร้างสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นและอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอกของถั่วงอก เพื่อให้ถั่วงอกมีลักษณะอวบอ้วน ไม่สั้นเกินไปหรือยาวเกินไป
ภานชนะที่ใช้สำหรับการเพาะถั่วงอกนั้นจึงหลากหลายมากมายหลายชนิด อาจจะเป็นภานชนะที่ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ เช่น หม้อดินเผา กระถางดินเผา ไห ตุ่ม ถังซีเมนต์ เข่ง หรือตระกร้าสานจากไม้ไผ่ก็ได้ หรือจะเป็นภานชนะจำพวก ถังพลาสติก ถังเหล็กก็ยังได้ ซึ่งความแตกต่างของการใช้ภานชนะทั้ง 2 ประเภท นี้ก็คือ หากใช้ภานชนะจำพวกหม้อดินเผา กระถางดินเผา ตุ่ม ถังซีเมนต์ จะรักษาความชื้นไว้ได้นานทำให้ไม่ต้องรดน้ำบ่อย คือ อาจจะรดน้ำทุก ๆ 3-4 ชั่วโมง แต่ถ้าใช้พวกถังพลาสติก ข้อดีก็คือ น้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก แต่ข้อเสียก็คือ ต้องรดน้ำบ่อยขึ้นคือทุก ๆ 1-2 ชั่วโมง ส่วนราคาและความคงทนต่อการใช้งานของวัสดุแต่ละชนิดก็คงแตกต่างกันไปตามวัสดุที่นำมาใช้ผลิตภานชนะชนิดนั้น ๆ ซึ่งจะมีผลต่อการลงทุนครั้งแรกและความคงทนต่อการใช้งานได้ยาวนานเท่าใด
 
ภานชนะเพาะควรมีสีดำหรือสีทึบเพื่อป้องกันแสงสว่าง ส่วนขนาดของภานชนะหรือความกว้าง ยาว สูง ของภานชนะก็ขึ้นอยู่กับปริมาณของถั่วงอกที่ต้องการเพาะ แต่โดยหลักการถั่วเขียว 1 ส่วน จะโตเป็นถั่วงอก 5-6 ส่วน โดยน้ำหนัก
ภานชนะที่ใช้สำหรับการเพาะถั่วงอกนั้นจึงหลากหลายมากมายหลายชนิด อาจจะเป็นภานชนะที่ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ เช่น หม้อดินเผา กระถางดินเผา ไห ตุ่ม ถังซีเมนต์ เข่ง หรือตระกร้าสานจากไม้ไผ่ก็ได้ หรือจะเป็นภานชนะจำพวก ถังพลาสติก ถังเหล็กก็ยังได้ ซึ่งความแตกต่างของการใช้ภานชนะทั้ง 2 ประเภท นี้ก็คือ หากใช้ภานชนะจำพวกหม้อดินเผา กระถางดินเผา ตุ่ม ถังซีเมนต์ จะรักษาความชื้นไว้ได้นานทำให้ไม่ต้องรดน้ำบ่อย คือ อาจจะรดน้ำทุก ๆ 3-4 ชั่วโมง แต่ถ้าใช้พวกถังพลาสติก ข้อดีก็คือ น้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก แต่ข้อเสียก็คือ ต้องรดน้ำบ่อยขึ้นคือทุก ๆ 1-2 ชั่วโมง ส่วนราคาและความคงทนต่อการใช้งานของวัสดุแต่ละชนิดก็คงแตกต่างกันไปตามวัสดุที่นำมาใช้ผลิตภานชนะชนิดนั้น ๆ ซึ่งจะมีผลต่อการลงทุนครั้งแรกและความคงทนต่อการใช้งานได้ยาวนานเท่าใด
ภานชนะที่นำมาเพาะไม่ว่าจะเป็นถังพลาสติก หรือไห หม้อดิน กระถาง หรืออื่น ๆ ก็ต้องมีรูสำหรับระบายน้ำทั้งด้านล่างและด้านข้าง ขนาดของรูระบายน้ำก็ไม่ควรใหญ่กว่าเมล็ดถั่วเขียว มิฉะนั้นเมล็ดถั่วเขียวจะเล็ดลอดออกจากรูไปได้
 
3. น้ำ ปัจจัยที่สำคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งสำหรับการเพาะถั่วงอก ในการเพาะถั่วงอก เมล็ดถั่วต้องได้น้ำอย่างพอเพียงและสม่ำเสมอตลอดการเพาะ 2-3 วัน หากขาดน้ำช่วงใดช่วงหนึ่ง จะทำให้ถั่วงอกชะงักการเจริญเติบโต ถั่วงอกที่ได้ก็จะไม่สมบูรณ์
ภานชนะเพาะควรมีสีดำหรือสีทึบเพื่อป้องกันแสงสว่าง ส่วนขนาดของภานชนะหรือความกว้าง ยาว สูง ของภานชนะก็ขึ้นอยู่กับปริมาณของถั่วงอกที่ต้องการเพาะ แต่โดยหลักการถั่วเขียว 1 ส่วน จะโตเป็นถั่วงอก 5-6 ส่วน โดยน้ำหนัก
 
ภานชนะที่นำมาเพาะไม่ว่าจะเป็นถังพลาสติก หรือไห หม้อดิน กระถาง หรืออื่น ๆ ก็ต้องมีรูสำหรับระบายน้ำทั้งด้านล่างและด้านข้าง ขนาดของรูระบายน้ำก็ไม่ควรใหญ่กว่าเมล็ดถั่วเขียว มิฉะนั้นเมล็ดถั่วเขียวจะเล็ดลอดออกจากรูไปได้
 
3. น้ำ ปัจจัยที่สำคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งสำหรับการเพาะถั่วงอก ในการเพาะถั่วงอก เมล็ดถั่วต้องได้น้ำอย่างพอเพียงและสม่ำเสมอตลอดการเพาะ 2-3 วัน หากขาดน้ำช่วงใดช่วงหนึ่ง จะทำให้ถั่วงอกชะงักการเจริญเติบโต ถั่วงอกที่ได้ก็จะไม่สมบูรณ์
 
== 6 วิธีเพาะถั่วงอก ==
'''เพาะถั่วงอกในจานขอบสูง'''