ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมดุลเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sudarat04791 (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 7:
แนวคิดเกี่ยวกับสมดุลเคมี ได้เริ่มพัฒนาขึ้นหลังจากการศึกษาของ โคล้ด หลุยส์ แบร์โธเล่ต์ (Claude Louis Berthollet) นักเคมีชาว[[ฝรั่งเศส]] ที่พบว่าปฏิกิริยาเคมีบางชนิดเป็น[[ปฏิกิริยาผันกลับได้]] (reversible reaction) โดยในสมดุลเคมีนั้น [[จลนพลศาสตร์เคมี|อัตราการเกิดปฏิกิริยา]]ไปข้างหน้า (forward reaction) จะเท่ากับ[[จลนพลศาสตร์เคมี|อัตราการเกิดปฏิกิริยา]]ย้อน กลับ (backward หรือ reverse reaction) สมการต่อไปนี้ เป็นการแสดงสมดุลเคมีของปฏิกิริยาระหว่างสาร A และ สาร B เกิดเป็นสาร S และ สาร T โดยที่ [[Alpha|α]], [[Beta|β]], [[sigma|σ]] และ [[tau|τ]] เป็นสัมประสิทธิ์[[ปริมาณสัมพันธ์]] (stoichiometric coefficient) ของปฏิกิริยาดังกล่าว
 
สมดุลเคมี คือ สภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่อระบบเข้าสู่สภาวะคงที่ แต่ยังคงมีการดำเนินต่อไปเรื่อยๆด้วยอัตราเร็วของปฎิกิริยาปฏิกิริยาเคมีนั้นๆ ซึ่งค่าของอัตราการเกิดปฎิกิริยาปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับค่าของอัตราการเกิดปฎิกิริยาปฏิกิริยาย้อนกลับ โดยสมบัติของปฎิกิริยาปฏิกิริยานี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงแม้เวลาจะผ่านไปนานเท่าไรก็ตาม สามารถเรียกภาวะสมดุลนี้ได้ว่า ภาวะสมดุลไดนามิก