ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำไย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Robotkung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
}}
 
'''ลำไย''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Dimocarpus longan}} (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่าลองแกน (Longan) อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชพื้นเมืองในพื้นที่ราบต่ำของลังกาอินเดียตอนใต้ บังกลาเทศ พม่าและจีนภาคใต้ เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด
 
== ประวัติ ==
ลำไยเป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนและกึ่งร้อนของเอเชีย ซึ่งอาจมีถิ่นกำเนิดในลังกาอินเดียตะวันออก พม่าหรือตอนเหนือและจีนตอนใต้ แต่ที่พบหลักฐานที่ปรากฏในวรรณคดีของจีนในสมัยพระเจ้าเซ็งแทงของจีนเมื่อ 1,766 ปีก่อนคริสกาลคริสกาล และจากหนังสือ RuYa ของจีนเมื่อ 110 ปีก่อนคริสตกาล ได้มีการกล่าวถึงลำไยไว้แล้ว และเมื่อชาวยุโรปได้เดินทางไปยังประเทศจีนเมื่อปีพ.ศ. 1514 ก็ได้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับลำไยไว้ในปี พ.ศ. 1585 แสดงว่าลำไยมีการปลูกใน[[ประเทศจีน]]ที่[[มณฑลกวางตุ้ง]], [[มณฑลเสฉวน]] ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่[[มณฑลฟูเกียน{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}ฝูเจี้ยน]]
 
ลำไยได้แพร่หลายเข้าไปใน[[ประเทศอินเดีย]], ลังกา[[ศรีลังกา]] [[พม่าและประเทศแถบเอเชียลังกาพม่า]] และประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเข้าสู่[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]ในปลายพุทธศตวรรษที่ 25 ในประเทศไทย ทางภาคเหนือมีลำไยพันธุ์พื้นเมืองเรียก "ลำไยกะลา" หรือลำไยธรรมดา <ref name = "ลำไย">นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 203 - 205</ref> ในสมัยรัชการลที่ 5รัชกาลที่6 มีชาวจีนนำพันธู์พันธุ์ลำไยเข้ามาถวายพระราชชายา เจ้าดารารัศมี จำนวน 5 ต้น เป็น(ในปัจจุบันบัญญัติชื่อพันธุ์เบี้ยวเขียว) ทรงให้ปลูกที่เชียงใหม่ 3 ต้น โดยปลูกที่สวนเจ้าสบาย ณ ที่ประทับของเจ้าดารารัศมีหลังเสด็จนิวัติกลับมาประทับถาวรเมื่อพระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที่5 เสด็จสวรรคต และส่งมาปลูกที่ตรอกจันทร์ กรุงเทพฯ 2 ต้น <ref name = "ลำไย"/> หลักฐานที่พบเป็นต้นลำไยในสวนเก่าแก่ของ ร.อ.หลวงราญอริพล (เหรียญ ศัพทเสน) ที่ปลูกในตรอกจันทร์ถนนสาธุประดิษฐ์ใกล้วัดปริวาศในสมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมามีการขยายพันธุ์จากต้นใน[[จังหวัดเชียงใหม่]] จากนั้นก็ขยายสู่ภูมิภาคต่างๆในล้านนาภาคเหนือ โดยการเพาะเมล็ดจนเกิดการกลายพันธุ์ (Mutation) เกิดพันธุ์ใหม่ใหม่ๆตามสภาพคุณลักษณะที่ดีของภูมิอากาศที่เหมาะสมและเกื้อกูลต่อการเจริญเติบโตของต้นลำไย
 
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[จังหวัดลำพูน]]มีสภาพภูมิประเทศที่ดีเป็นดินทราย อยู่ในที่ลุ่มแม่น้ำใหญ่ของลำน้ำหลายสาย จนเกิดลำไยต้นหมื่นที่บ้านหนองช้างคืน อำเภอเมืองลำพูน ซึ่งเก็บผลขายต้นเดียวได้ราคาเป็นหมื่น เมื่อปีพ.ศ. 2511 ผลิตผลต่อต้นได้ 40-50เข่ง พัฒนาการของลำไยในภูมิภาคนี้โดยเฉพาะที่จังหวัดลำพูน ถ้านับจากการเสด็จกลับล้านนาเมืองเชียงใหม่ครั้งแรกของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีเมื่อปีพ.ศ. 2457 จนถึงลำไยต้นหมื่นที่หนองช้างคืนเมื่อปีพ.ศ. 2511ก็พัฒนามาร่วม60ปีและถ้านับถึงปีปัจจุบัน มีการพัฒนาพันธุ์ร่วม90ปีแล้ว จนขณะนี้มีลำไยมากมายหลายพันธุ์และมีการปลูกมากถึง157,220ไร่ {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
 
== พันธุ์ลำไย ==
ลำไยนั้นปลูกในหลายประเทศที่สำคัญ แหล่งปลูกขนาดใหญ่คือประเทศจีนมีการปลูกลำไยถึง 26 สายพันธุ์ คือพันธุ์ที่โดยส่วนมากปลูกใน[[มณฑล กวางตุ้ง]] 12 สายพันธุ์ ปลูกในประเทศไต้หวันอีก 15 สายพันธุ์ ปลูกในสหรัฐอเมริกามี 1 สายพันธุ์คือ คือพันธุ์โคฮาลา และใน[[ประเทศเวียดนาม]] ซึ่งมีแหล่งปลูกลำไยขนาดใหญ่ไม่แพ้จากประเทศจีน โดยมักมักปลูกในเวียดนามทางตอนเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น โดยพันธุ์ลำไยของเวียดนามนั้นนำเข้ามาจากประเทศจีน ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ทนได้ในอากาศเย็นจัดจนถึงจุดเยือกแข็ง ซึ่งต่างจากลำไยของประเทศไทยเกิดการกลายพันธุ์เป็นลำไยเมืองร้อน จำแนกออกตามลักษณะผลเนื้อเมล็ดและรสชาติแบ่งสามารถทนอุณหภูมิสูงได้ถึง40-43องศาในฤดูร้อน 6 พวก คือ
 
* ลำไยกะโหลก เป็นพันธุ์ลำไยที่ให้ผลขนาดใหญ่มีเนื้อหนารสหวานมีหลายสายพันธุ์คือ
===ลำไยไทย===
** สีชมพู ผลใหญ่ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก เนื้อมีสีชมพูเรื่อๆ รสดีมากที่สุด
ลำไยใน[[ประเทศไทย]] เท่าที่พบในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 4กลุ่ม คือ ลำไยพันธุ์ดี(ลำไยกะโหลก), ลำไยป่า, ลำไยพื้นเมือง(ลำไยกระดูก) และลำไยเครือ(ลำไยชลบุรี)
** ตลับนาค ผลใหญ่ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบแห้ง เปลือกบาง
* '''ลำไยกะโหลก''' เป็นพันธุ์ลำไยที่ให้ผลขนาดใหญ่มีเนื้อหนารสหวานมีหลาย แบ่งเป็นอีกสายพันธุ์ย่อยอีก คือ
** เบี้ยวเขียว หรืออีเขียว ผลใหญ่กลมเบี้ยว เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ เนื้อล่อน
** '''ลำไยสีชมพู''' มีผลใหญ่ เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, เนื้อมีสีชมพูเรื่อๆ รสดีมากที่สุด
** อีดอ ผลขนาดปานกลาง เมล็ดเล็ก รสหวาน แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ อีดอยอดแดง ใบอ่อนมีสีแดงกับอีดอยอดเขียว ใบอ่อนมีสีเขียว
** '''ลำไยตลับนาค''' มีผลใหญ่ เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, หวานกรอบ, เนื้อแห้ง, เปลือกบาง
** อีแดง สีเปลือกของผลค่อนข้างแดง เป็นพันธุ์กลาง กิ่งเปราะหักง่าย ผลกลมใหญ่เมล็ดใหญ่ รสหวานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คืออีแดงเปลือกหนา มีใบป้อมใหญ่ผลใหญ่ กับอีแดงเปลือกบาง ใบยาวผลเล็กกว่าอีแดงเปลือกหนา
** '''ลำไยเบี้ยวเขียว''' หรือลำไยอีดำเขียว ผลใหญ่ ใบดำกลมเบี้ยว เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ อีแห้วยอดแดง เมล็ดปานกลาง อีแห้วยอดขาว ผลกลมใหญ่ หัวเบี้ยว เนื้อกรอบ ไม่หวานล่อน
** '''ลำไยอีแดง''' สีเปลือกของผลค่อนข้างแดง เป็นพันธุ์ขนาดกลาง กิ่งเปราะหักง่าย ผลกลมใหญ่ เมล็ดใหญ่ รสหวานแบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย คืออีแดงเปลือกหนา มีใบป้อมใหญ่ผลใหญ่ กับอีแดงเปลือกบาง ใบยาวผลเล็กกว่าอีแดงเปลือกหนา
* ลำไยกระดูก เป็นพันธุ์พื้นเมือง ทรงพุ่มกว้างใบหนาทึบ ผลเล็กมีน้ำมาก เนื้อน้อยไม่หวาน มีน้ำตาลประมาณ 13.75% ขึ้นได้ทั่วไปปลูกง่าย เหลือให้เห็นน้อย เพราะไม่นิยมปลูก ไม่มีราคา
*** ''ลำไยอีแดงเปลือกหนา'' มีใบป้อมใหญ่ผลใหญ่
* ลำไยธรรมดา ผลปานกลาง เนื้อหนากว่าลำไยพันธุ์กระดูก เนื้อกรอบบางมีน้ำมาก ให้ผลดก
*** ''ลำไยอีแดงเปลือกบาง'' ใบยาวผลเล็กกว่าอีแดงเปลือกหนา
* ลำไยสายน้ำผึ้ง ลักษณะคล้ายลำไยธรรมดา แต่เนื้อมีสีเหลืองอ่อน เนื้อมีรสดี หอมกรอบ เมล็ดเล็ก
** '''ลำไยอีดอ''' ผลขนาดปานกลางมีเมล็ดเล็ก, รสหวาน แบ่งเป็น2ชนิดย่อย คือ
* ลำไยเถาหรือลำไยเครือ เป็นไม้ต้นรอเลื้อย ลำต้นไม่มีแก่นจึงพันเข้ากับรั้วหรือหลัก ผลเล็กและเมล็ดโตกว่าลำไยบ้าน เนื้อหุ้มเมล็ดบาง<ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ''ลำไยเครือ'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 94-95</ref> นิยมปลูกไว้ประดับมากกว่าปลูกไว้รับประทาน ชอบขึ้นตามป่าเขา
***''ลำไยอีดอ-ยอดแดง'' ใบอ่อนมีสีแดง
* ลำไยขาว ผลขนาดเล็กกว่าลำไยทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลอ่อนเกือบขาว เนื้อสีขาวใส เมล็ดลีบ รสหวาน<ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ''ลำไยขาว'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 104 - 105</ref>
*** ''ลำไยอีดอ-ยอดเขียว'' ใบอ่อนมีสีเขียว
** '''ลำไยอีดำ''' ผลใหญ่ ใบดำ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ อีแห้วยอดแดง เมล็ดปานกลาง อีแห้วยอดขาว ผลกลมใหญ่ หัวเบี้ยว เนื้อกรอบ ไม่หวาน
 
* '''ลำไยกระดูก''' เป็นพันธุ์พื้นเมือง ทรงพุ่มกว้างใบหนาทึบ ผลเล็กมีน้ำมาก เนื้อน้อยไม่หวาน มีน้ำตาลประมาณ 13.75% ขึ้นได้ทั่วไปปลูกง่าย เหลือให้เห็นน้อย เพราะไม่นิยมปลูก ไม่มีราคา
 
* '''ลำไยธรรมดา''' ผลปานกลาง เนื้อหนากว่าลำไยพันธุ์กระดูก เนื้อกรอบบางมีน้ำมาก ให้ผลดก
 
* '''ลำไยสายน้ำผึ้ง''' ลักษณะคล้ายลำไยธรรมดา แต่เนื้อมีสีเหลืองอ่อน เนื้อมีรสดี หอมกรอบ เมล็ดเล็ก
 
* '''ลำไยเถาหรือลำไยเครือ''' เป็นไม้ต้นรอเลื้อย ลำต้นไม่มีแก่นจึงพันเข้ากับรั้วหรือหลัก ผลเล็กและเมล็ดโตกว่าลำไยบ้าน เนื้อหุ้มเมล็ดบาง<ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ''ลำไยเครือ'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 94-95</ref> นิยมปลูกไว้ประดับมากกว่าปลูกไว้รับประทาน ชอบขึ้นตามป่าเขา
* '''ลำไยขาว''' ผลขนาดเล็กกว่าลำไยทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลอ่อนเกือบขาว เนื้อสีขาวใส เมล็ดลีบ รสหวาน<ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ''ลำไยขาว'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 104 - 105</ref>
 
== ประโยชน์ของลำไย ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ลำไย"