ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทูล ทองใจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
| birthdate = 1 มีนาคม พ.ศ. 2470<ref>[http://www.thairath.co.th/content/240823 ทูล ทองใจ 85 ปี มีอัฐิที่บางกะพ้อม]</ref>
| location = [[อำเภออัมพวา]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]]
| deathdate = 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 (6668 ปี)
| deathplace = โรงพยาบาลวชิระ กรุงเทพฯ
| spouse = นวลสวาท ชื่นชมบุญ
บรรทัด 53:
เมื่อออกจากวง “ลูกมาตุลี” ของ ขส.ทบ. ขณะนั้นมียศสิบเอก  ครูสิทธิ์  โมรากรานต์  นำไปพบกับครู “เบญจมินทร์”  ครูเบญจมินทร์แต่งเพลงแรกให้ร้องบันทึกเสียง เมื่อปี พ.ศ. 2499 ในเพลง “พี่ทุยหน้าทื่อ” พอมีคนรู้จักบ้าง นำไปร้องสลับหน้าม่านโรงละครอยู่เป็นปีจนช่ำชอง ตามมาด้วยเพลงกลิ่นปรางนางหอม ชื่อเสียงก็กระเตื้องขึ้น จนต่อมาในปี พ.ศ. 2500  หลังจากครูเบญจมินทร์เดินทางกลับจากประเทศเกาหลี จึงได้นำเพลง “โปรดเถิดดวงใจ”  ให้ ทูล   ทองใจ  ขับร้อง เกิดปรากฏการณ์ดังเป็นพลุแตก สร้างชื่อเสียงให้ทูล ทองใจอย่างมากมาย ต่อมาครูเบญจมินทร์แต่งให้ร้องอีกหลายเพลง เช่น ปรารถนา ในฝัน ๆ แต่เนื่องจากครูเบญจมินทร์มีงานล้นมือ ทั้งงานด้านดนตรีและงานภาพยนตร์  จึงฝากทูล  ทองใจ ให้ครูมงคลอุปการะต่อ  และได้ครูไพบูลย์  บุตรขัน  แต่งเพลงให้อีกแรงหนึ่ง  อาทิ เสียงดุเหว่าแว่ว นกเขาขันฉันครวญ รังรักในจินตนาการ ๆลๆ ทำให้ชื่อเสียงของทูล  ทองใจ  โด่งดังคับฟ้าจนดังไปไกลถึงประเทศลาว เป็นดาวค้างฟ้ามาตั้งแต่บัดนั้น
 
ทูลเสียชีวิตเมื่อ 1 กพ 2538 ด้วยอาการความดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมองแตก สิริรวมอายุได้ 6768 ปี
 
ด้วยความรักและแรงศรัทธาของแฟนเพลงที่มีต่อเสียงเพลง จึงได้ร่วมกันสร้างอนุสรณ์ที่ระลึก หุ่นทูล ทองใจขึ้นที่บ้านเกิดสมุทรสงคราม ในท่ายืน มือขวาถือไมค์ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าพิพิธภัณฑ์บ้านดนตรี วัดภุมรินทร์กุฎีทอง ต.สวนหลวง จ.สมุทรสงคราม