ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PP2014 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 6458764 โดย Octahedron80ด้วยสจห.
Wipawee Boorana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
=ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ=
{{สั้นมาก}}
'''ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|international relations}})เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นสาขาที่มีขอบเขตและเนื้อหาที่กว้างจึงมีผู้นิยามคำจำกัดความไว้ดังนี้
'''ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|international relations}}) หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก เป็นแขนงหนึ่งของวิชา[[รัฐศาสตร์]] เป็นหลักปฏิบัติและการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวาง[[นโยบายระหว่างประเทศ]] ซึ่งครอบคลุมทั้งในด้าน[[การเมือง]] [[เศรษฐกิจ]]
คาร์ล ดับเบิ้ลยู ดอยซ์ (Karl W. Deutsch)ได้ให้คำนิยามของความสัมพันธืระหว่างประเทศไว้ว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเปรียบเสมือนเวทีอันประกอบด้วยพฤติกรรมและการกระทำทั้งหลายของรัฐที่มีต่อกันโดยปราศจากการควบคุมอย่างเพียงพอ”จากคำนิยามดังกล่าว สามารถศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้คือ[[รัฐ]]ในแต่ละรัฐมีความแตกต่างกันทั้งทางด้าน ทรัพยากรมนุษย์ ความเจริญทางเทคโนโลยี อำนาจและต่างๆอีกมาก โดยเฉพาะประเทศที่สามที่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อป้องกันผลประโยชน์ของตนจากประเทศโลกที่หนึ่ง<ref>ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ.(ม.ป.ป.).(ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น).หน้า8</ref>
เค เจ โฮลสติ (K.J.Holsti)ได้ให้คำนิยามของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ว่าปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างสมาชิกในแต่ละสังคมเกิดขึ้นจากการที่รัฐสนับสนุนหรือไม่สนับสนุนก็ได้<ref>จุฑาทิพ คล้ายทับทิม.(2553).(หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ).หน้า2</ref>
'''ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|international relations}}) หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก เป็นแขนงหนึ่งของวิชา[[รัฐศาสตร์]] เป็นหลักปฏิบัติและการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวาง[[นโยบายระหว่างประเทศ]] ซึ่งครอบคลุมทั้งในด้าน[[การเมือง]] [[เศรษฐกิจ]]
โดยสรุป ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ ความสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยน ที่เกิดขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐโดยตรง ตัวแทนของรัฐหรือไม่ใช่ตัวแทนของรัฐและเอกชน เป็นไปได้ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆของรัฐที่ต้องการแลกเปลี่ยนและเผยแผ่ไปให้รัฐอืื่นๆ เช่น การศึกษา [[วัฒนธรรม]] หรือวัตถุประสงค์ทางด้านการเมือง โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นไปในรูปแบบของความร่วมมือหรือรูปแบบของความขัดแย้ง เพื่อป้องกันสิทธิและรักษาผลประโยชน์ของรัฐ จึงเปรีบยเสมือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นเหรียญสองด้าน
 
 
[[หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ]]