ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอลิเมอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Arisra5940310371 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Arisra5940310371 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 45:
 
== พันธะเคมีของพอลิเมอร์ ==
พันธะเคมีที่สำคัญส่วนใหญ่ที่พบในพอลิเมอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ พันธะปฐมภูมิ (primary bonds) เป็นพันธะที่พบในโมเลกุลของพอลิเมอร์ พันธะที่สำคัญที่สุด คือ พันธะโคเวเลนซ์เป็นพันธะที่เชื่อมอะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันต่างๆในโมเลกุลของพอลิเมอร์ พันธะโคเวเลนซ์ป็นพันธะที่เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนรอบนอกหรือเวเลนซ์อิเล็กตรอน (valenceelectrons)ของอะตอมร่วมกัน 1 คู่ในกรณีพันธะเดี่ยวหรือมากกว่า 1 คู่ และใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ ในกรณีพันธะคู่ เป็นต้น และพันธะทุติยภูมิ (secondary bonds) เป็นพันธะที่มีความสำคัญรองจากพันธะปฐมภูมิ โดยอาจจะพบภายในโมเลกุลหรือระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ ซึ่งจะมีความยาวพันธะมากกว่าพันธะปฐมภูมิและมีพลังงานในการสลายพันธะน้อกว่าพันธะปฐมภูมิมีพันธะที่สำคัญ 3 ชนิดคือ
พันธะเคมีที่สำคัญส่วนใหญ่ที่พบในพอลิเมอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ พันธะปฐมภูมิ (primary bonds) และพันธะทุติยภูมิ (secondary bonds)
พันธะปฐมภูมิ เป็นพันธะที่พบในโมเลกุลของพอลิเมอร์ พันธะที่สำคัญที่สุด คือ พันธะโคเวเลนซ์เป็นพันธะที่เชื่อมอะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันต่างๆในโมเลกุลของพอลิเมอร์ พันธะโคเวเลนซ์ป็นพันธะที่เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนรอบนอกหรือเวเลนซ์อิเล็กตรอน (valenceelectrons)ของอะตอมร่วมกัน 1 คู่ในกรณีพันธะเดี่ยวหรือมากกว่า 1 คู่ และใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ ในกรณีพันธะคู่ เป็นต้น
พันธะทุติยภูมิ เป็นพันธะที่มีความสำคัญรองจากพันธะปฐมภูมิ โดยอาจจะพบภายในโมเลกุลหรือระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ ซึ่งจะมีความยาวพันธะมากกว่าพันธะปฐมภูมิและมีพลังงานในการสลายพันธะน้อกว่าพันธะปฐมภูมิมีพันธะที่สำคัญ 3 ชนิดคือ
*พันธะไฮโดเจน(hydrogen bond) เป็นพันธะทุติยภูมิที่เกิดระหว่างะตอมของไฮโดรเจนทีอยู่ในหมู่ฟังก์ชันที่ให้โปรตอน เช่น หมู่เอไมด์ หมู่เอมีน หมู่คาร์บอกซิล และหมู่ไฮดรอกซิล เป็นต้น กับอะตอมของออกซิเจนที่อยู่ในหมู่ฟังก์ชันที่รับโปรตอน เช่น หมู่คาร์บอนิล หมู่อีเธอร์ และหมู่ไฮดรอกซิล เป็นต้น หรือกับอะตอมของไนโตรเจนในหมู่เอไมด์และหมู่เอมีน หรือกับอะตอมของฟลูออรีนหรือกับอะตอมของคลอรีนก็ได้
*แรงดึงดูดไดโพล(dipole-dipole lnteraction) เป็นพันธะทุติยภูมิที่เกิดจากหลักการที่ว่า อะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันต่างชิดกันที่มีสภาพขั้วไฟฟ้าต่างกันมาอยู่ใกล้กันทำให้มีแรงดึงดูดต่อกันได้ แรงดึงดูดนี้เรียกว่า แรงดึงดูดไดโพล โดยอะตอมต่างชนิดกันที่เป็นส่วนประกอบของหมู่ฟังก์ชันต่างก็มีแรงทางไฟฟ้าของแต่ละอะตอม และถ้าแรงทางไฟฟ้าของอะตอมต่างๆที่อยู่ในหมู่ฟังก์ชันไม่สมดุลกัน จะทำให้มีสภาพขั้วเกิดขึ้น