ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทองหลางลาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
'''ทองหลางลาย''', '''ทองบ้านทองหลางด่าง''', หรือ '''ทองเผือก''' ([[ภาคเหนือ]]), '''ทองหลางด่าง''' หรือ '''ปาริชาต''' (กรุงเทพฯ) ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Erythrina variegata}}) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5-10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30-30–40 เซนติเมตร รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือน[[มกราคม]]-[[กุมภาพันธ์]] ผลเป็นฝักยาว 15-15–30 เซนติเมตร
 
ทองหลางลายกระจายพันธุ์ในเอเชียทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น เจริญได้ในสภาพ[[ดิน]]ทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย กลางแจ้ง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด และปักชำ
== อ้างอิง ==