ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเล็กซานเดอร์มหาราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "มาเกโดเนีย" → "มาเกโดนีอา" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฟิลิป" → "พีลิปโปส" ด้วยสจห.
บรรทัด 7:
| succession1 = กษัตริย์แห่งมาเกโดนีอา
| reign1 = พ.ศ. 207 – 220
| predecessor1 = [[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา|ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา]]
| successor1 = [[อเล็กซานเดอร์ที่ 4 แห่งมาเกโดนีอา|อเล็กซานเดอร์ที่ 4]]<br />[[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา|ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 3]]
| succession2 =พระเจ้าแผ่นดินอียิปต์
| reign2 = พ.ศ. 211 – 220
| predecessor2 = [[ดาริอุสที่ 3]] {{small|([[จักรวรรดิอะคีเมนิด|ราชวงศ์อะคีเมนิด]])}}
| successor2 = [[อเล็กซานเดอร์ที่ 4 แห่งมาเกโดนีอา|อเล็กซานเดอร์ที่ 4]]<br />[[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา|ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 3]]
| succession3 = พระเจ้าแผ่นดินเปอร์เซีย
| reign3 = พ.ศ. 213 – 220
| predecessor3 = [[ดาริอุสที่ 3]] {{small|([[จักรวรรดิอะคีเมนิด|ราชวงศ์อะคีเมนิด]])}}
| successor3 = [[อเล็กซานเดอร์ที่ 4 แห่งมาเกโดนีอา|อเล็กซานเดอร์ที่ 4]]<br>[[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา|ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 3]]
| othertitles =มหาจักรพรรดิแห่งเอเชีย
| full name = อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา
| native_lang1 = [[ภาษากรีก|กรีก]]
เส้น 28 ⟶ 27:
| house = [[ราชวงศ์อาร์กีด|อาร์กีด]]
| house-type = ราชวงศ์
| father = [[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา|ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา]]
| mother = โอลิมเปียสแห่งอิพิรุส
| birth_date = 20 หรือ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 187
เส้น 36 ⟶ 35:
| religion = กรีกเทวนิยม }}
 
'''อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา''' (356-323 ปีก่อนคริสตกาล) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า '''อเล็กซานเดอร์มหาราช''' ({{lang-en|Alexander the Great}}, {{lang-el|Μέγας Ἀλέξανδρος}}) เป็น[[กษัตริย์กรีก]]จาก[[ราชอาณาจักรมาเกโดนีอา]] ผู้สร้างชื่อเสียงมากที่สุดของ[[ราชวงศ์อาร์กีด]] เป็นผู้สร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์[[สมัยโบราณ|ยุคโบราณ]] เกิดที่เมืองเพลลา ตอนเหนือของมาเกโดนีอา เมื่อปีที่ 356 ก่อนคริสตกาล ได้รับการศึกษาตามแบบกรีกดั้งเดิมภายใต้การกำกับดูแลของ[[อริสโตเติล]] นักปรัชญากรีกผู้มีชื่อเสียง สืบทอดราชบัลลังก์ต่อจาก [[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา]] เมื่อปีที่ 336 ก่อนคริสตกาลหลังจากที่พระบิดาถูกลอบสังหาร สวรรคตในอีก 13 ปีต่อมาเมื่อพระชนมายุเพียง 32 พรรษา แม้ว่าราชบัลลังก์และจักรวรรดิของอเล็กซานเดอร์จะอยู่เพียงชั่วครู่ยาม แต่ผลกระทบจากการพิชิตดินแดนของพระองค์ส่งผลสืบเนื่องต่อมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ อเล็กซานเดอร์ถือเป็นหนึ่งในบุรุษผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุคโบราณ มีชื่อเสียงเลื่องลือในความสามารถทางการรบ ยุทธวิธี และการเผยแพร่อารยธรรมกรีกไปในดินแดนตะวันออก
 
พระเจ้าฟิลิปพีลิปโปสทรงนำแว่นแคว้นกรีกโดยมากบนแผ่นดินใหญ่กรีซให้มาอยู่ภายใต้การปกครองของมาเกโดนีอา โดยใช้ทั้งกลวิธีทางการทูตและทางทหาร เมื่อฟิลิปสวรรคตพีลิปโปสสวรรคต อเล็กซานเดอร์จึงได้สืบทอดราชอาณาจักรที่เข้มแข็งและกองทัพที่เปี่ยมประสบการณ์ พระองค์เป็นที่ยอมรับในด้านการรบจากแว่นแคว้นกรีซ และได้เริ่มแผนการขยายอำนาจแผ่อาณาจักรตามที่บิดาเคยริเริ่มไว้ พระองค์ยกทัพรุกรานดินแดน[[เอเชียไมเนอร์]]ภายใต้การปกครองของ[[จักรวรรดิอคีเมนียะห์|อาณาจักรเปอร์เซีย]] และกระทำการรณยุทธ์อย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลาร่วมสิบปี อเล็กซานเดอร์เอาชนะชาวเปอร์เซียครั้งแล้วครั้งเล่า นำทัพข้าม[[ซีเรีย]] [[อียิปต์]] [[เมโสโปเตเมีย]] [[อิหร่าน|เปอร์เซีย]] และ[[แบคเทรีย]] ทรงโค่นล้มกษัตริย์ดาริอุสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย และพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียได้ทั้งหมด{{fn|1}} พระองค์ไล่ตามความปรารถนาที่ต้องการเห็น "จุดสิ้นสุดของโลกและมหาสมุทรใหญ่ที่เบื้องปลาย" จึงยกทัพบุก[[อินเดีย]] แต่ต่อมาถูกบีบให้ต้องถอยทัพกลับโดยบรรดาทหารที่กำเริบขึ้นเนื่องจากเบื่อหน่ายการสงคราม
 
อเล็กซานเดอร์สวรรคตที่เมือง[[บาบิโลน]] ในปีที่ 323 ก่อนคริสตกาล ก่อนจะเริ่มแผนการรบต่อเนื่องในการรุกรานคาบสมุทรอาระเบีย ในปีถัดจากการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์ เกิดสงครามกลางเมืองทั่วไปจนอาณาจักรของพระองค์แตกเป็นเสี่ยงๆ ทำให้เกิดเป็นรัฐใหญ่น้อยมากมายปกครองโดยบรรดาขุนนางชาวมาเกโดนีอา แม้ความเป็นผู้พิชิตของพระองค์จะโดดเด่นอย่างยิ่ง แต่มรดกของอเล็กซานเดอร์ที่ยืนยงต่อมากลับมิใช่ราชบัลลังก์ กลายเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมที่ติดตามมาจากการพิชิตดินแดนเหล่านั้น การก่อร่างสร้างเมืองอาณานิคมกรีกและวัฒนธรรมกรีกที่เผยแพร่ไปในแดนตะวันออกทำให้เกิดเป็นวัฒนธรรม[[เฮเลนนิสติก]] ซึ่งยังคงสืบทอดต่อมาใน[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]กระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อเล็กซานเดอร์เป็นบุคคลในตำนานในฐานะวีรบุรุษผู้ตามอย่าง[[อคิลลีส]] มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมปรัมปราทั้งของฝ่ายกรีกและที่ไม่ใช่กรีก เป็นหลักเกณฑ์มาตรฐานซึ่งบรรดานายพลทั้งหลายใช้เปรียบเทียบกับตนเองแม้จนถึงปัจจุบัน โรงเรียนการทหารทั่วโลกยังคงใช้ยุทธวิธีการรบของพระองค์เป็นแบบอย่างในการเรียนการสอน{{fn|2}}
 
== ชีวิตช่วงต้น ==
[[ไฟล์:Filip II Macedonia.jpg|180px|thumb|upright|รูปสลักของพระเจ้าฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 บิดาของอเล็กซานเดอร์]]
=== เชื้อสายและวัยเยาว์ ===
อเล็กซานเดอร์ประสูติเมื่อวันที่ 20 (หรือ 21) กรกฎาคม ปีที่ 356 ก่อนคริสตกาล,<ref name=PA3>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+3.1 ''Alexander,'' 3]</ref><ref>อเล็กซานเดอร์เกิดในวันที่ 6 ของเดือน [[Attic calendar|Hekatombaion]] ตามปฏิทินแอตติก{{cite web|url=http://www.livius.org/aj-al/alexander/alexander_t32.html#7|title=The birth of Alexander at Livius.org}}</ref> ที่เมืองเพลลา เมืองหลวงของ[[ราชอาณาจักรมาเกโดนีอา]] เป็นโอรสของ[[ฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา|พระเจ้าฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2]] มารดาเป็นภริยาคนที่ 4 ของฟิลิปชื่อนางพีลิปโปสชื่อนาง[[โอลิมเพียส|โอลิมเพียสแห่งเอพิรุส]]เป็นธิดาของ นีโอโทเลมุสที่ 1 แห่ง[[เอพิรุส]] นครรัฐกรีกทางเหนือ<ref name=PA2>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+2.1 ''Alexander'', 2]</ref><ref name=N10-M>McCarty, p. 10.</ref><ref name="Renault, p. 28">Renault, p. 28.</ref><ref>Durant, ''Life of Greece'', p. 538.</ref> แม้ฟิลิปพีลิปโปสจะมีชายาถึง 7-8 คน แต่นางโอลิมเพียสก็ได้เป็นชายาเอกอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
 
ในฐานะที่ทรงเป็นสมาชิกราชวงศ์อาร์กีด อเล็กซานเดอร์จึงถือว่าสืบเชื้อสายมาจาก[[เฮราคลีส]]ผ่านทางกษัตริย์คารานุสแห่งมาเกโดนีอา{{fn|4}} ส่วนทางฝั่งมารดา เขาถือว่าตนสืบเชื้อสายจาก[[นีโอโทลีมุส]] บุตรของ[[อคิลลีส]]{{fn|5}} อเล็กซานเดอร์เป็นญาติห่างๆ ของนายพลพีร์รุสแห่งเอพิรุส ผู้ได้รับยกย่องจาก[[ฮันนิบาล]]ว่าเป็นแม่ทัพผู้เก่งกาจที่สุด<ref name=plu>Plutarch. [http://penelope.uchicago.edu/Thayer/E/Roman/Texts/Plutarch/Lives/Pyrrhus*.html "Life of Pyrrhus"]. Penelope.uchicago.edu. Retrieved 14 November 2009.</ref> หรืออันดับที่สอง (รองจากอเล็กซานเดอร์)<ref name=appian>Appian, ''History of the Syrian Wars'', §10 and §11 at [http://www.livius.org/ap-ark/appian/appian_syriaca_02.html Livius.org]</ref> เท่าที่โลกเคยประสบพบเจอ
 
ตามบันทึกของ[[พลูตาร์ค]] นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกโบราณ ในคืนวันก่อนวันวิวาห์ของนางโอลิมเพียสกับฟิลิปมเพียสกับพีลิปโปส โอลิมเพียสฝันว่าท้องของนางถูกสายฟ้าฟาดเกิดเปลวเพลิงแผ่กระจายออกไป "ทั้งกว้างและไกล" ก่อนจะมอดดับไป หลังจากแต่งงานแล้ว ฟิลิปพีลิปโปสเคยบอกว่า ตนฝันเห็นตัวเองกำลังปิดผนึกครรภ์ของภรรยาด้วยดวงตราที่สลักภาพของสิงโต<ref name=PA2/> พลูตาร์คตีความความฝันเหล่านี้ออกมาหลายความหมาย เช่นโอลิมเพียสตั้งครรภ์มาก่อนแล้วก่อนแต่งงาน โดยสังเกตจากการที่ครรภ์ถูกผนึก หรือบิดาของอเล็กซานเดอร์อาจเป็นเทพ[[ซูส]] นักวิจารณ์ในยุคโบราณมีความคิดแตกแยกกันไปว่าโอลิมเพียสประกาศเรื่องเชื้อสายอันศักดิ์สิทธิ์ของอเล็กซานเดอร์ด้วยความทะเยอทะยาน บางคนอ้างว่านางเป็นคนบอกอเล็กซานเดอร์เอง แต่บางคนก็ว่านางไม่สนใจคำแนะนำทำนองนี้เพราะเป็นการไม่เคารพ<ref name=PA2/>
 
ในวันที่อเล็กซานเดอร์เกิด ฟิลิปพีลิปโปสกำลังเตรียมตัวเข้ายึดเมืองโพทิเดียซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งคาลกิดีกี (Chalkidiki) ในวันเดียวกันนั้น ฟิลิปพีลิปโปสได้รับข่าวว่านายพล[[พาร์เมนิออน]]ของพระองค์ได้ชัยชนะเหนือกองทัพผสมระหว่างพวกอิลลีเรียนกับพาอิเนียน และม้าของพระองค์ก็ชนะการแข่งขันใน[[กีฬาโอลิมปิก]] ยังเล่ากันด้วยว่า วันเดียวกันนั้น [[วิหารแห่งอาร์เทมิส]]ที่เมือง[[เอเฟซัส]] อันเป็นหนึ่งใน[[เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ]] ถูกไฟไหม้ทลายลง [[เฮเกเซียสแห่งแม็กนีเซีย]]กล่าวว่า ที่วิหารล่มลงเป็นเพราะ[[เทพีอาร์เทมิส]]เสด็จมาเฝ้ารอการประสูติของอเล็กซานเดอร์<ref name=PA3/><ref name="Renault, p. 28"/><ref name=P21-B>Bose, p. 21.</ref>
 
เมื่อยังเล็ก ผู้เลี้ยงดูอเล็กซานเดอร์คือนางอภิบาล ลาไนกี พี่สาวของ[[เคลอิตุส]]ซึ่งในอนาคตได้เป็นทั้งเพื่อนและแม่ทัพของอเล็กซานเดอร์ ครูในวัยเยาว์ของอเล็กซานเดอร์คือ[[ลีโอไนดัส]]ผู้เข้มงวด ซึ่งเป็นญาติทางฝ่ายมารดา และ[[ไลซิมาคัส]]<ref name=M33-34-R<ref name=M33-34-R>Renault, pp. 33–34.</ref><ref name=PA5>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+5.1 ''Alexander'', 5]</ref>
 
เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 10 ปี พ่อค้าม้าคนหนึ่งจากเมือง[[เทสสะลี]]นำม้ามาถวายฟิลิปตัวหนึ่งพีลิปโปสตัวหนึ่ง โดยเสนอขายเป็นเงิน 13 ทาเลนท์ ม้าตัวนี้ไม่มีใครขี่ได้ ฟิลิปพีลิปโปสจึงสั่งให้เอาตัวออกไป ทว่าอเล็กซานเดอร์สังเกตได้ว่าม้านี้กลัวเงาของตัวมันเอง จึงขอโอกาสฝึกม้านี้ให้เชื่อง ซึ่งต่อมาเขาสามารถทำได้สำเร็จ ตามบันทึกของพลูตาร์ค ฟิลิปพีลิปโปสชื่นชมยินดีมากเพราะนี่เป็นสิ่งแสดงถึงความกล้าหาญและความมักใหญ่ใฝ่สูง เขาจูบบุตรชายด้วยน้ำตา และว่า "ลูกข้า เจ้าจะต้องหาอาณาจักรที่ใหญ่พอสำหรับความทะเยอทะยานของเจ้า มาเกโดนีอาเล็กเกินไปสำหรับเจ้าแล้ว" แล้วพระองค์จึงซื้อม้าตัวนั้นให้แก่อเล็กซานเดอร์<ref name=PA6>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+6.1 ''Alexander,'' 6]</ref> อเล็กซานเดอร์ตั้งชื่อม้านั้นว่า [[บูซีฟาลัส]] หมายถึง "หัววัว" บูซีฟาลัสกลายเป็นสหายคู่หูติดตามอเล็กซานเดอร์ไปตลอดการเดินทางจนถึงอินเดีย เมื่อบูซีฟาลัสตาย (เนื่องจากแก่มาก ตามที่พลูตาร์คบันทึกไว้ มันมีอายุถึง 30 ปี) อเล็กซานเดอร์ได้ตั้งชื่อเมืองแห่งหนึ่งตามชื่อมัน คือเมือง[[บูซีฟาลา]]<ref name=R64-F>Fox, ''The Search For Alexander'', p. 64.</ref><ref>Renault, p. 39.</ref><ref>Durant, p. 538.</ref>
 
=== การศึกษา และชีวิตวัยหนุ่ม ===
เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 13 ปี ฟิลิปพีลิปโปสตัดสินพระทัยว่าอเล็กซานเดอร์ควรได้รับการศึกษาขั้นสูงขึ้น จึงเริ่มเสาะหาอาจารย์ดีให้แก่บุตร เขาเปลี่ยนอาจารย์ไปหลายคน เช่น [[ไอโซเครตีส]] และ [[สพีอุสสิปัส]] ซึ่งเป็นผู้สืบทอดของ[[เพลโต]]ที่วิทยาลัยแห่งเอเธนส์ ซึ่งขอลาออกเองเพื่อไปรับตำแหน่ง ในที่สุดฟิลิปพีลิปโปสเสนองานนี้ให้แก่ [[อริสโตเติล]] ฟิลิปพีลิปโปสยกวิหารแห่งนิมฟ์ที่[[มีซา]]ให้พวกเขาใช้เป็นห้องเรียน ค่าตอบแทนในการสอนหนังสือแก่อเล็กซานเดอร์คือการสร้างเมืองเกิดของอริสโตเติล คือเมือง[[สตาเกรา]]ที่ฟิลิปพีลิปโปสทำลายราบไปขึ้นใหม่ และให้ฟื้นฟูเมืองนี้โดยการซื้อตัวหรือปลดปล่อยอดีตพลเมืองของเมืองนี้ที่ถูกจับตัวไปเป็นทาส และยกโทษให้แก่พวกที่ถูกเนรเทศไปด้วย<ref name=PA7>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+7.1 ''Alexander'', 7]</ref><ref name=R65-F>Fox, ''The Search For Alexander'', p. 65.</ref><ref>Renault, p. 44.</ref><ref>McCarty, p. 15.</ref>
 
[[ภาพ:Hephaestion Cropped.jpg|180px|thumb|รูปสลักของ[[เฮฟีสเทียน]] เพื่อนในวัยเด็กของอเล็กซานเดอร์และต่อมาได้เป็นแม่ทัพคู่กายอเล็กซานเดอร์]]
มีเอซา เป็นเหมือนโรงเรียนประจำสำหรับอเล็กซานเดอร์และบรรดาบุตรขุนนางหรือเชื้อพระวงศ์ของมาเกโดนีอา เช่น [[ทอเลมีที่ 1 แห่งซอเตอร์|ทอเลมี]] และ [[แคสแซนเดอร์]] นักเรียนที่เรียนพร้อมกับอเล็กซานเดอร์กลายเป็นเพื่อนของเขาและต่อมาได้เป็นแม่ทัพนายทหารประจำตัว มักถูกกล่าวถึงด้วยคำว่า "สหาย" อริสโตเติลสอนอเล็กซานเดอร์กับบรรดาสหายในเรื่องการแพทย์ ปรัชญา ศีลธรรม ศาสนา ตรรกศาสตร์ และศิลปศาสตร์ ด้วยการสอนของอริสโตเติลทำให้อเล็กซานเดอร์เติบโตขึ้นมาด้วยแรงบันดาลใจอย่างสูงในงานเขียนของ[[โฮเมอร์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง [[อีเลียด]] อริสโตเติลมอบงานเขียนฉบับคัดลอกของเรื่องนี้ให้เขาชุดหนึ่ง ซึ่งอเล็กซานเดอร์เอาติดตัวไปด้วยยามที่ออกรบ<ref name=R65-66-F>Fox, ''The Search For Alexander'', pp. 65–66.</ref><ref name=PA8>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+8.1 ''Alexander'', 8]</ref><ref>Renault, pp. 45–47.</ref><ref>McCarty, ''Alexander the Great'', p. 16.</ref>
 
== ทายาทของฟิลิปพีลิปโปส ==
=== ผู้สำเร็จราชการและผู้สืบทอดมาเกโดนีอา ===
เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 16 ปี การร่ำเรียนกับอริสโตเติลก็ยุติลง พระเจ้าฟิลิปพีลิปโปสยกทัพไปทำสงครามกับ[[ไบแซนเทียม]]และแต่งตั้งให้อเล็กซานเดอร์รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้สำเร็จราชการ ระหว่างที่ฟิลิปไม่อยู่พีลิปโปสไม่อยู่ พวก[[แมดี]]ใน[[เทรซ]]ก็แข็งเมืองต่อต้านการปกครองของมาเกโดนีอา อเล็กซานเดอร์ตอบโต้อย่างฉับพลัน บดขยี้พวกแมดีและขับไล่ออกไปจากเขตแดน แล้วผนวกเมืองนี้เข้ากับอาณาจักรกรีก ตั้งเมืองใหม่ขึ้นให้ชื่อว่า [[อเล็กซานโดรโพลิส]]<ref name=PA9>Plutarch, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Plut.+Caes.+9.1 ''Alexander,'' 9]</ref><ref name=R68-F>Fox, ''The Search For Alexander'', p. 68.</ref><ref>Renault, p. 47.</ref><ref>Bose, p. 43.</ref>
 
หลังจากฟิพีลิปกปโปสกลับมาจากไบแซนเทียม พระองค์มองกองกำลังเล็กๆ ให้แก่อเล็กซานเดอร์เพื่อไปปราบปรามกบฏทางตอนใต้ของเทรซ มีบันทึกว่าอเล็กซานเดอร์ได้ช่วยชีวิตของบิดาไว้ได้ระหว่างการรบครั้งหนึ่งกับนครรัฐกรีกชื่อ[[เพรินทุส]] ในขณะเดียวกัน เมือง[[แอมฟิสซา]]ได้เริ่มการทำลายสถานสักการะเทพอพอลโลใกลักับ[[วิหารแห่งเดลฟี]] ซึ่งเป็นโอกาสให้ฟิลิปพีลิปโปสยื่นมือเข้าแทรกแซงกิจการของกรีซ ขณะที่พำนักอยู่ที่เมืองเทรซ ฟิลิปพีลิปโปสสั่งให้อเล็กซานเดอร์รวบรวมกองทัพสำหรับการรณยุทธ์กับกรีซ เมื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ว่านครรัฐกรีกอื่นๆ จะยื่นมือเข้ามายุ่ง อเล็กซานเดอร์จึงแสร้งทำเสมือนว่ากำลังเตรียมการไปโจมตี[[อิลลีเรีย]]แทน ในระหว่างความยุ่งเหยิงนั้น อิลลีเรียถือโอกาสมารุกรานมาเกโดนีอา แต่อเล็กซานเดอร์ก็สามารถขับไล่ผู้รุกรานไปได้<ref name=Renault47-49>Renault, pp. 47–49.</ref>
 
ปีที่ 338 ก่อนคริสตกาล ฟิลิปพีลิปโปสยกทัพมาร่วมกับอเล็กซานเดอร์แล้วมุ่งหน้าลงใต้ผ่านเมือง[[เทอร์โมไพลี]]ซึ่งทำการต่อต้านอย่างโง่ๆ ด้วยกองทหารชาวธีบส์ ทั้งสองบุกยึดเมือง[[เอลาเทีย]]ซึ่งอยู่ห่างจาก[[เอเธนส์]]และ[[ธีบส์]]เพียงชั่วเดินทัพไม่กี่วัน ขณะเดียวกัน ชาวเอเธนส์ภายใต้การนำของดีมอสเทนีส ลงคะแนนเสียงให้เป็นพันธมิตรกับธีบส์เพื่อทำสงครามร่วมรบกับมาเกโดนีอา ทั้งเอเธนส์และฟิลิปพีลิปโปสพากันส่งทูตไปเพื่อเอาชนะใจธีบส์ แต่ทางเอเธนส์เป็นฝ่ายประสบความสำเร็จ<ref name=M50-51-R>Renault, pp. 50–51.</ref><ref>Bose, pp. 44–45</ref><ref>McCarty, p. 23</ref> ฟิลิปพีลิปโปสยกทัพไปแอมฟิสซา จับกุมทหารรับจ้างที่ดีมอสเทนีสส่งไป แล้วเมืองนั้นก็ยอมจำนน ฟิพีลิปกปโปสกลับมาเมืองเอลาเทียและส่งข้อเสนอสงบศึกครั้งสุดท้ายไปยังเอเธนส์และธีบส์ แต่ทั้งสองเมืองปฏิเสธ<ref name=M51-R>Renault, p. 51.</ref><ref>Bose, p. 47.</ref><ref>McCarty, p. 24.</ref>
 
ฟิลิปพีลิปโปสยกทัพลงใต้ แต่ถูกสกัดเอาไว้บริเวณใกล้เมืองไคโรเนียของโบโอเทีย โดยกองกำลังของเอเธนส์และธีบส์ ระหว่าง[[การสัประยุทธ์แห่งไคโรเนีย]] ฟิลิปพีลิปโปสบังคับบัญชากองทัพปีกขวา ส่วนอเล็กซานเดอร์บังคับบัญชากองทัพปีกซ้าย ร่วมกับกลุ่มนายพลซึ่งเป็นที่ไว้วางใจของฟิลิปพีลิปโปส ตามแหล่งข้อมูลโบราณ ทั้งสองฟากของกองทัพต้องต่อสู้อย่างหนักเป็นเวลายาวนาน ฟิลิปพีลิปโปสจงใจสั่งให้กองทัพปีกขวาของตนถอยทัพเพื่อให้ทหาร[[ฮอพไลท์]]ของเอเธนส์ติดตามมา ทำลายแถวทหารของฝ่ายตรงข้าม ส่วนปีกซ้ายนั้นอเล็กซานเดอร์เป็นคนนำหน้าบุกเข้าตีแถวทหารของธีบส์แตกกระจาย โดยมีนายพลของฟิลิปพีลิปโปสตามมาติดๆ เมื่อสามารถทำลายสามัคคีของกองทัพฝ่ายศัตรูได้แล้ว ฟิลิปพีลิปโปสสั่งให้กองทหารของตนเดินหน้ากดดันเข้าตีทัพศัตรู ทัพเอเธนส์ถูกตีพ่ายไป เหลือเพียงทัพธีบส์ต่อสู้เพียงลำพัง และถูกบดขยี้ลงอย่างราบคาบ<ref name="DiodXVI">Diodorus Siculus, [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Diod.+16.86.1 ''Library XVI, 86'']</ref>
 
หลังจากได้ชัยชนะที่ไคโรเนีย ฟิลิปพีลิปโปสกับอเล็กซานเดอร์เดินทัพต่อไปโดยไม่มีผู้ขัดขวางมุ่งสู่เพโลพอนนีส (Peloponnese) โดยได้รับการต้อนรับจากทุกเมือง อย่างไรก็ตาม เมื่อพวกเขาเดินทางไปถึง[[สปาร์ตา]] กลับถูกปฏิเสธ ทว่าพวกเขาก็เพียงจากไปเฉยๆ<ref>{{cite web|url=http://www.sikyon.com/sparta/history_eg.html |title=History of Ancient Sparta |publisher=Sikyon.com |accessdate=14 November 2009}}</ref> ที่เมือง[[โครินธ์]] ฟิลิปพีลิปโปสได้ริเริ่ม "พันธมิตรเฮเลนนิก" (Hellenic Alliance) (ซึ่งจำลองมาจากกองทัพพันธมิตรต่อต้านเปอร์เซียในอดีต เมื่อครั้ง[[สงครามเกรโค-เปอร์เซียน]]) โดยไม่นับรวมสปาร์ตา ฟิลิปพีลิปโปสได้ชื่อเรียกว่า ''เฮเกมอน'' (Hegemon) (ซึ่งมักแปลเป็น "ผู้บัญชาการสูงสุด") ของคณะพันธมิตรนี้ นักประวัติศาสตร์ยุคใหม่เรียกคณะพันธมิตรนี้ว่า สันนิบาตแห่งโครินธ์ (League of Corinth) ครั้นแล้วฟิลิปพีลิปโปสประกาศแผนของตนในการทำสงครามต่อต้านอาณาจักรเปอร์เซีย โดยเขาจะเป็นผู้บัญชาการเอง<ref name=M54-R>Renault, p. 54.</ref><ref>McCarty, p. 26.</ref>
 
=== การลี้ภัยและหวนกลับคืน ===
[[ไฟล์:Alexander1256.jpg|thumb|left|180px|รูปสลักของอเล็กซานเดอร์ ที่พิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งอิสตันบูล]]
หลังจากกลับมาเมืองเพลลา ฟิลิปพีลิปโปสตกหลุมรักกับคลีโอพัตรา ยูรีไดส์ แห่งมาเกโดนีอา และต่อมาได้แต่งงานกัน นางเป็นหลานสาวของแอตตาลัส นายพลคนหนึ่งของเขา การแต่งงานครั้งนี้ทำให้สถานะรัชทายาทของอเล็กซานเดอร์ต้องสั่นคลอน เพราะถ้าหากคลีโอพัตรา ยูรีไดส์ให้กำเนิดบุตรชายแก่ฟิลิปพีลิปโปส เด็กนั้นจะเป็นทายาทที่มีเชื้อสายมาเกโดนีอาโดยตรง ขณะที่อเล็กซานเดอร์เป็นเพียงลูกครึ่งมาเกโดนีอา<ref name=McCarty27>McCarty, p. 27.</ref> ในระหว่างงานเลี้ยงฉลองพิธีวิวาห์ แอตตาลัสซึ่งเมามายได้ขึ้นกล่าวสุนทรพจน์โดยอธิษฐานต่อเทพเจ้าขอให้การแต่งงานนี้สร้างทายาทอันถูกต้องตามกฎหมายให้แก่ราชบัลลังก์มาเกโดนีอา อเล็กซานเดอร์ตะโกนใส่แอตตาลัสว่า "อย่างนั้นข้าเป็นอะไรเล่า ลูกไม่มีพ่อหรือ?" แล้วขว้างแก้วใส่นายพล ฟิลิปพีลิปโปสซึ่งก็เมามากเช่นกัน ชักดาบออกมาแล้วเดินไปหาอเล็กซานเดอร์ ก่อนจะหกล้มคว่ำไป อเล็กซานเดอร์จึงว่า "ดูเถอะ ชายผู้เตรียมจะยกทัพจากยุโรปสู่เอเชีย ไม่อาจแม้แต่จะเดินจากเก้าอี้ตัวหนึ่งไปถึงอีกตัวหนึ่ง"<ref name=PA9/>
 
อเล็กซานเดอร์รู้สึกเสียหน้ามากจากการหย่าร้างระหว่างพระชนกกับพระชนนีครั้งนี้ ประกอบกับภัยที่กำลังคุกคามการสืบทอดอำนาจของพระองค์ ทำให้เกิดการโต้เถียงกับพระชนกอย่างรุนแรง พระองค์(อเล็กซานเดอร์หนี)และพระชนนี โอลิมปีอัส หนีออกจากมาเกโดนีอาโดยพามารดาไปด้วย ต่อมาเขาพานางไปฝากไว้กับน้องชายของนางที่โดโดนา เมืองหลวงของเอพิรุส,<ref name=PA10> [http://www.artsmen.net/content/show.php?Category=movieboard&No=1992]</ref> เขาเดินทางต่อไปถึงอิลลีเรีย โดยขอลี้ภัยอยู่กับกษัตริย์แห่งอิลลีเรียและได้รับการต้อนรับอย่างดีในฐานะแขกของชาวอิลลีเรีย ทั้งที่เมืองนี้เคยพ่ายแพ้เขาในการรบเมื่อหลายปีก่อน อเล็กซานเดอร์หวนกลับมาเกโดนีอาอีกครั้งหลังการลี้ภัยอยู่เมืองนี้เป็นเวลา 6 เดือน หลังจากปรับความเข้าใจกับกษัตริย์ฟิลิปได้พีลิปโปสได้ ด้วยความพยายามช่วยเหลือของสหายของครอบครัวผู้หนึ่ง คือ ดีมาราตุส ชาวโครินธ์ ซึ่งช่วยประนีประนอมให้ทั้งสองฝ่าย<ref name=PA9/><ref name=P75-B>Bose, p. 75.</ref><ref>Renault, p. 56</ref><ref name=PA10> [http://www.artsmen.net/content/show.php?Category=movieboard&No=1992]</ref>
 
ปีถัดมา พิโซดารุส เจ้าเมืองเปอร์เซียผู้ปกครอง[[คาเรีย]] ได้เสนองานวิวาห์ระหว่างบุตรสาวคนโตของตนกับฟิลิปพีลิปโปส [[อาร์ริดาอุส]] ซึ่งเป็นพี่น้องต่างมารดาของอเล็กซานเดอร์ โอลิมเพียสกับเพื่อนอีกหลายคนของอเล็กซานเดอร์เห็นว่าสิ่งนี้แสดงถึงความตั้งใจของฟิลิปพีลิปโปสที่จะแต่งตั้งให้อาร์ริดาอุสเป็นรัชทายาท อเล็กซานเดอร์ตอบโต้โดยส่งเทสซาลุสแห่งโครินธ์ นักแสดงผู้หนึ่งไปแจ้งแก่พิโซดารุสว่าไม่ควรเสนอให้บุตรสาวของตนแต่งงานกับบุตรชายผู้ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ทว่าควรให้แต่งงานกับอเล็กซานเดอร์มากกว่า เมื่อฟิลิปพีลิปโปสทราบเรื่องนี้ก็ตำหนิดุด่าอเล็กซานเดอร์อย่างรุนแรง แล้วเนรเทศสหายของอเล็กซานเดอร์ 4 คนคือ ฮาร์พาลุส นีอาร์คุส ทอเลมี และเอริไกอุส ทั้งให้ล่ามตรวนเทสซาลุสกลับมาส่งให้ตน<ref name=McCarty27/><ref>Renault, p. 59.</ref><ref>Fox, ''The Search For Alexander'', p. 71.</ref>
 
== กษัตริย์แห่งมาเกโดนีอา ==
=== การขึ้นครองราชย์ ===
ปีที่ 336 ก่อนคริสตกาล ขณะที่ฟิพีลิปอปโปสอยู่ที่ [[Aegae]] เข้าร่วมในพิธีวิวาห์ระหว่าง [[คลีโอพัตราแห่งมาเกโดนีอา|คลีโอพัตรา]] บุตรสาวของตนกับโอลิมเพียส กับ[[อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเอพิรุส]] ซึ่งเป็นน้องชายของโอลิมเพียส พระองค์ถูกลอบสังหารโดยนายทหารราชองครักษ์ของพระองค์เอง คือ [[เพาซานิอัสแห่งโอเรสติส]]{{fn|7}} ขณะที่เพาซานิอัสพยายามหลบหนี ก็สะดุดล้มและถูกสังหารโดยสหายสองคนของอเล็กซานเดอร์ คือ [[เพอร์ดิคคัส]]กับ[[เลออนนาตุส]] อเล็กซานเดอร์อ้างสิทธิ์ขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วยการสนับสนุนของกองทัพมาเกโดนีอาและขุนนางแห่งมาเกโดนีอาเมื่ออายุได้ 20 ปี<ref name=N30-31-M>McCarty, pp. 30–31.</ref><ref>Renault, pp. 61–62.</ref><ref>Fox, ''The Search For Alexander'', p. 72.</ref>
 
=== การรวบรวมอำนาจ ===
เส้น 96 ⟶ 95:
[[ไฟล์:Napoli BW 2013-05-16 16-24-01.jpg|thumb|240px|right|ภาพโมเสคที่ค้นพบที่ซากเมืองปอมเปอีย์ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์รบ กับ กษัตริย์ดาไรอุสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย ณ สมรภูมิกัวกาเมล่า ในศึกแห่งอิสซุส(รูปนี้ถ้าเป็นรูปเต็ม จะมีรูปกษัตริย์ดาไรอุสตกพระทัยจากหอกที่พุ่งใส่ อยู่บนรถม้าอยู่ทางขวามือ โดยรูปนี้แสดงถึงความกล้าหาญของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ และความอ่อนแอของกษัตริย์ดาไรอุส โดยรูปนี้นับเป็นรูปที่มีชื่อเสียงที่สุดของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ด้วย)]]
 
เมื่อต้นเดือน[[ตุลาคม]][[พ.ศ. 212]] หรือ เมื่อ 333 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ยาตราทัพสู่อาณาจักรเปอร์เซีย เพื่อท้ารบกับกษัตริย์ดาไรอุสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย ที่เชื่อว่าเป็นผู้จ้างคนลอบสังหารพระเจ้าฟิลิปที่พีลิปโปสที่ 2 พระบิดาของพระองค์ ในศึกแห่งอิสซุส ทัพของทั้งคู่เผชิญหน้ากันที่กัวกาเมล่า (ในตะวันออกกลาง หรือพื้นที่ส่วนมากของ[[ประเทศอิรัก]]ในปัจจุบัน) โดยที่กองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชมีเพียง 20,000 เท่านั้น ขณะที่กองทัพเปอร์เซียมีนับแสน แต่ด้วยความกล้าหาญของทหารมาเกโดนีอาทุกคน กับการวางแผนการรบที่ชาญฉลาดอเล็กซานเดอร์มหาราช ทำให้พระองค์ได้รับชัยชนะแม้จะสูญเสียเป็นจำนวนมากก็ตาม ในการรบครั้งนี้นับเป็นการรบที่มีชื่อของอเล็กซานเดอร์มหาราชที่สุด เนื่องจากพระองค์ทรงควบบูซาเฟลัสบุกเดี่ยวฝ่ากองป้องกันของทหารเปอร์เซียขว้างหอกใส่กษัตริย์ดาไรอุส ทำให้กษัตริย์ดาไรอุสตกพระทัย และหลบหนีขึ้นเขาไปในที่สุด ผลจากการรบครั้งนี้ทำให้อเล็กซานเดอร์มหาราชได้เข้าสู่นคร[[เปอร์ซีโปลิส]] ([[Persepolis]]) ศูนย์กลางอาณาจักรเปอร์เซีย และได้เป็นพระราชาแห่งเอเชีย
 
== การรบครั้งสุดท้าย ==
เส้น 129 ⟶ 128:
{{fnb|2}} ตัวอย่างเช่น [[ฮันนิบาล]] ยกย่องอเล็กซานเดอร์ว่าเป็นแม่ทัพผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด<ref>{{cite book |last=Goldsworthy |first=A. |title=The Fall of Carthage |publisher=Cassel |date=2003 |isbn=0304366420}}</ref> [[จูเลียส ซีซาร์]] ร่ำไห้เมื่อเห็นอนุสาวรีย์ของอเล็กซานเดอร์ เพราะพระองค์ประสบความสำเร็จได้เพียงน้อยนิดขณะเมื่ออายุเท่ากัน<ref name="Plutarch, Caesar, 11">Plutarch, Caesar, 11</ref>[[พอมพี]] แสดงตัวว่าเป็น "อเล็กซานเดอร์คนใหม่"<ref>{{cite book|author=Holland, T.|title=Rubicon: Triumph and Tragedy in the Roman Republic |year=2003 |publisher=Abacus|isbn=9780349115634}}</ref> [[นโปเลียน โบนาปาร์ต]] ก็เปรียบเทียบตนเองกับอเล็กซานเดอร์<ref>{{cite book|author=Barnett, C. |title=Bonaparte |publisher=Wordsworth Editions |year=1997 |isbn=1853266787}}</ref>
 
{{fnb|7}} นับตั้งแต่ยุคสมัยนั้นก็มีข้อสงสัยมากมายอยู่ว่า เพาซานิอัสถูกว่าจ้างให้มาสังหารฟิลิปพีลิปโปส ผู้ต้องสงสัยว่าจ้างวานได้แก่อเล็กซานเดอร์ โอลิมเพียส รวมไปถึงจักรพรรดิเปอร์เซียที่เพิ่งขึ้นครองราชย์ คือ [[พระเจ้าดาริอุสที่ 3]] ทั้งสามคนนี้ล้วนมีแรงจูงใจที่ต้องการให้ฟิลิปสวรรคตพีลิปโปสสวรรคต<ref name=Fox72-73>Fox, ''The Search For Alexander'', pp. 72–73.</ref>
 
== อ้างอิง ==