ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 25:
* 15 มีนาคม – ปรีดีเสนอ "[[สมุดปกเหลือง|เค้าโครงร่างเศรษฐกิจ]]" หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" เพื่อให้พิจารณาใช้เป็นหลักสำหรับนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ<ref name="pridi-fo">[http://www.pridi-fo.th.com/pridi-profile.htm www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์]</ref><ref>อนุสรณ์ ธรรมใจ, [http://www.pridiinstitute.com/autopage/show_page.php?h=25&s_id=2&d_id=1 ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547], 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร</ref>
 
=== [[พ.ศ. 2476]] ===
* 1 เมษายน – มีพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา<ref name="samesky-05-02">บทความ ''เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง'' ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550</ref> บ้างอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวเป็น[[รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476|การยึดอำนาจตัวเอง]] เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่<ref name="history-politics" />
* 2 เมษายน – มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี<ref name="thai-cons-dev" /> เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง<ref name="history-politics" /> โดยในขณะนั้นนายกรัฐมนตรีอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร{{อ้างอิง}}
บรรทัด 31:
* 10 มิถุนายน – พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์พิทยายุทธ และพระยาฤทธิอัคเนย์ ผู้นำสายทหารของคณะราษฎรยื่นจดหมายลาออก<ref name="samesky-05-02" />
* 20 มิถุนายน – [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]][[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหาร]][[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] นายกรัฐมนตรี จากนั้นมีการล้างมลทินให้หลวงประดิษฐมนูธรรม
* 29 กันยายน – นายปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสยาม และดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* 11 ตุลาคม – [[กบฏบวรเดช]]: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นหัวหน้าฝ่ายทหารนำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานล้มล้างการปกครองของรัฐบาล เนื่องจากไม่พอใจที่นายถวัลย์ ฤทธิเดชฟ้องร้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่ที่พระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยคัดค้านแผนพัฒนาเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ("สมุดปกเหลือง") โดยออกเป็นสมุดปกขาว แต่กระทำการไม่สำเร็จ
* 25 ตุลาคม – พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]
บรรทัด 41:
* 2 มีนาคม – [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสละราชสมบัติ ขณะประทับรักษาพระเนตรอยู่ใน[[ประเทศอังกฤษ]], วันเดียวกัน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] ขณะที่มีพระชนมายุ 9 พรรษา ได้แต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
* 13 กันยายน – รัฐบาลลาออก เพราะแพ้คะแนนเสียงในสภาเรื่องสัญญาการจำกัดยาง<ref name="thai-cons-dev" />
* 22 กันยายน – ตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย<ref name="thai-cons-dev" />
 
=== พ.ศ. 2479 ===
บรรทัด 50:
* 27 กรกฎาคม – พระยาพหลพลพยุหเสนาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีอื้อฉาวที่มีกระทู้ถามเรื่องการนำที่ดินของ[[พระคลังข้างที่]]มาซื้อขายในราคาถูกเป็นพิเศษ เพื่อเป็นแสดงความบริสุทธิ์และแสดงให้เห็นถึงความไม่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายที่ดินดังกล่าว<ref name="history-politics" />
* 5 สิงหาคม – [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรี รับสนองพระบรมราชโองการ แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญว่าด้วยนามประเทศ โดยให้เรียกชื่อประเทศว่า '''"ประเทศไทย"''' และเปลี่ยนคำว่า '''"สยาม"''' ให้เป็น '''"ไทย"''' แทน โดยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงหลักการของลัทธิชาติ-ชาตินิยมว่า "รัฐบาลเห็นควรถือเป็นรัฐนิยมให้ใช้ชื่อประเทศ ให้ต้องตามชื่อเชื้อชาติ และความนิยมของประชาชน"<ref>[[มติชนสุดสัปดาห์]] ฉบับที่ 1401, 1402 วันที่ 22 และ 29 มิ.ย. 2550 (ผ่านหนังสือ ''จากสยามเป็นไทย: นามนั้นสำคัญมากฉะนี้หรือ?'' เอกสารวิชาการ โครงการตลาดวิชา มหาวิทยาลัยชาวบ้าน หน้า 8 [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]]) </ref>
* [[7 พฤศจิกายน]] - การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในประวัติศาสตร์ไทย
 
=== [[พ.ศ. 2481]] ===
* [[18 กรกฎาคม]] - รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนาออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2481 เรื่อง "วันชาติ" กำหนดให้วันที่ [[24 มิถุนายน]] เป็น[[วันชาติ]] ซึ่งตรงกับวันที่ก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง<ref name="techapeera-national-day">เกษียร เตชะพีระ, [http://www.crma.ac.th/histdept/archives/viewpoint/thai-05-09-03.htm 20 พฤษภาฯ วันสิ้น (วัน) ชาติ], [[มติชน]] ปีที่ 26 ฉบับที่ 9310, 5 กันยายน พ.ศ. 2546 (อ้างผ่านเว็บไซต์[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]) </ref><ref name="talkingmachine">พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย, [http://www.talkingmachine.org/national_day_24_june.html เพลงวันชาติ 24 มิถุนายน], เว็บไซต์พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย</ref>
* [[11 กันยายน]] - พระยาพหลพลพยุหเสนา ยุบสภา เนื่องจากรัฐบาลแพ้คะแนนเสียงเรื่องการชี้แจงรายรับ-รายจ่ายที่รัฐบาลจัดทำเสนอ<ref name="history-politics" />
* [[1 สิงหาคม]] - ประกาศใช้วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันชาติ ลงในราชกิจจานุเบกษา<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], เล่ม 55 วันที่ 1 สิงหาคม 2481 หน้า 1122 (ผ่านหนังสือ[[ฟ้าเดียวกัน]] ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย. 2547 หน้า 72 บทความ ''ประวัติศาสตร์วันชาติไทย จาก 24 มิถุนา ถึง 5 ธันวา'' โดย [[สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล]]) </ref>
* [[16 ธันวาคม]] - จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
* [[11 กันยายน]] - พระยาพหลพลพยุหเสนา ยุบสภา เนื่องจากรัฐบาลแพ้คะแนนเสียงเรื่องการชี้แจงรายรับ-รายจ่ายที่รัฐบาลจัดทำเสนอ<ref name="history-politics" />
* [[16 ธันวาคม]] - จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
 
=== [[พ.ศ. 2484]] ===
* [[8 ธันวาคม]] - [[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย]]: กองทัพ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ได้ยกพลขึ้นบกที่[[ประจวบคีรีขันธ์]]และอีกหลายจังหวัดในภาคกลางที่ติด[[อ่าวไทย]]
* [[11 ธันวาคม]] - รัฐบาลไทยยอมยุติการต่อสู้กับกองกำลังญี่ปุ่น และประกาศทางวิทยุให้ทุกฝ่ายหยุดยิง
* [[12 ธันวาคม]] - [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] เอกอัครทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ไม่ยอมรับการประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นของรัฐบาลไทย และได้ประกาศ[[ขบวนการเสรีไทย]]ขึ้นที่นั่น โดยต่อมาคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนหลายคน เช่น นาย[[ปรีดี พนมยงค์]] นาย[[ทวี บุณยเกตุ]] นาย[[ควง อภัยวงศ์]] ได้แยกตัวออกมาร่วมกับขบวนการเสรีไทยในประเทศ เนื่องจากไม่อาจรับกับการกระทำของรัฐบาล
 
=== [[พ.ศ. 2486]] ===
* [[8 มิถุนายน]] - นายปรีดีได้ลาออกจากตำแหน่ง เพื่อให้เป็นไปตามวิธีทางวิถีทางของรัฐธรรมนูญ หลังจากรัชกาลที่ 8 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่รัฐสภาก็มีมติเป็นเอกฉันท์ให้กลับมาดำรงตำแหน่งอีกครั้ง
 
=== [[พ.ศ. 2487]] ===
* [[24 กรกฎาคม]] - จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกกดดันให้ลงออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากนโยบาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารนครบาลเพชรบูรณ์ ที่ จอมพล ป. นำเสนอ<ref name="history-politics" />
* [[1 สิงหาคม]] - [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา|พลโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงได้ลงมติแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่เพียงผู้เดียว
* [[24 สิงหาคม]] - จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกปลดจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด<ref name="history-politics" />
 
=== [[พ.ศ. 2488]] ===
* [[16 สิงหาคม]] - นาย[[ปรีดี พนมยงค์]] ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออก[[ประกาศสันติภาพ]]ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ได้
* [[20 สิงหาคม]] - รัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากเป็นรัฐบาลที่มีขึ้นในสมัยสงคราม<ref name="history-politics" />
* [[1 กันยายน]] - นาย[[ทวี บุณยเกตุ ]]ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลรักษาการ โดยมีอายุเพียงได้ 17 วัน โดยรัฐมนตรีในรัฐบาลส่วนใหญ่เป็นฝ่ายเสรีไทย<ref name="history-politics" />
* [[17 กันยายน]] - ม.ร.ว.หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเดินทางกลับจากสหรัฐอเมริกา เพื่อมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และได้ดำเนินการเจราเอาทหารอังกฤษและข้อเจรจา[[ความตกลงสัญญาบางประการกับประเทศอังกฤษ ภายหลังสงครามยุติ เนื่องจากอังกฤษไม่ยอมรับสถานภาพของประเทศไทยซึ่งเป็นพันธมิตรของญี่ปุ่นสมบูรณ์แบบ]]
* [[27 กันยายน]] - รัฐบาลเสนอพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม ต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อใช้จัดการกับ จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะ<ref name="history-politics" />
* [[15 ตุลาคม]] - [[ม.ร.ว.หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] ยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่
* [[5 ธันวาคม]] - นายปรีดี พนมยงค์ อัญเชิญ[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]เสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป
 
=== [[พ.ศ. 2489]] ===
* [[1 มกราคม]] - ม.ร.ว.เสนีย์ ยื่นใบลาออกลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังจากเสร็จภารกิจเจรจากับประเทศอังกฤษ
* [[6 มกราคม]] - มีการเลือกตั้งทั่วไป
* [[31 มกราคม]] - นาย[[ควง อภัยวงศ์]] ได้รับเสียงสนับสนุนจากสภาผู้แทนราษฎร ให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งที่ 2 และจัดตั้งรัฐบาลต่อจาก ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช