ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
== ก่อนการปฏิวัติ (พ.ศ. 2469–2475) ==
=== พ.ศ. 2469 ===
* [[5 กุมภาพันธ์]] - ตั้ง[[คณะราษฎร]] และมีการประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 [[Rue Du Sommerard|ถนนซอมเมอราร์ด]] [[ปารีส|กรุงปารีส]] ประเทศฝรั่งเศส ผู้เข้าร่วมประชุมมี 7 คน การประชุมกินเวลานาน 5 วัน และลงมติให้ปรีดี พนมยงค์เป็นประธาน และหัวหน้าคณะราษฎรไปพลาง<ref>[http://thunder.prohosting.com/~jub/2475-90.html thunder.prohosting.com สยาม 2475 - 2490 คณะราษฎร]</ref><ref name="history-politics">ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2550</ref>{{อ้างอิงเต็ม}}
 
===[[ พ.ศ. 2474]] ===
*[[ 19 มิถุนายน]] - [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ได้ลาออกจากตำแหน่ง หลังจากมีความขัดแย้งกับ[[กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] อภิรัฐมนตรี ซึ่งเหตุการณ์นี้ได้เปิดโอกาสอย่างมากให้แก่คณะราษฎร<ref>[http://heritage.mod.go.th/nation/nation.htm เหตุการณ์ในแผ่นดินเมื่อปี พ.ศ. 2475]</ref>{{อย่างไร}}
 
=== [[พ.ศ. 2475]] ===
* [[12 มิถุนายน]] - คณะราษฎรวางแผนการที่บ้าน ร.ท.[[ประยูร ภมรมนตรี]] เพื่อจะดำเนินการควบคุม[[กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร
* [[24 มิถุนายน]] - คณะราษฎรประกาศ เปลี่ยนแปลง[[การปกครอง]]ของ[[ประเทศไทย]] จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ไปเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] ในการปฏิบัติการ มีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร
 
== ลำดับเหตุการณ์หลังการปฏิวัติ (พ.ศ. 2475-2503) ==
 
=== พ.ศ. 2475 ===
* [[2527 มิถุนายน]] - [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จ ลงพระราชดำเนินกลับกรุงเทพมหานครปรมาภิไธยในธรรมนูญการปกครองประเทศ โดยทางรถไฟทรงเพิ่มคำว่า ถึงสถานีจิตรลดา''"ชั่วคราว"'' เวลา 0.37 น. เข้าวันอาทิย์ที่ต่อท้ายธรรมนูญการปกครองประเทศ ซึ่ง[[26ปรีดี มิถุนายนพนมยงค์]]เป็นผู้ร่าง<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 111</ref>
* [[28 มิถุนายน]] - มีการประชุม[[สภาผู้แทนราษฎร]]สมัยแรก ตามธรรมนูญการปกครองประเทศชั่วคราว มีสมาชิก 70 คน โดยแต่งตั้งจากคณะราษฎร 31 คน และจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ในระบอบเดิม 39 คน ทำการเลือก[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] เป็นประธานกรรมการราษฎร (เทียบเท่าตำแหน่งถือว่าเป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]] คนแรกของประเทศไทย)<ref name="sarakadee-24-june-2475">[http://www.sarakadee.com/feature/1999/06/2475.htm www.sarakadee.com ยุทธการยึดเมือง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]</ref> [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]] เป็น[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก และมีปรีดี พนมยงค์ เป็น[[เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หน้า 112 หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543 หน้า 112</ref>
* [[26 มิถุนายน]] - เวลา 11.00 น. [[คณะราษฎร]]จำนวน 6 นาย ประกอบด้วย [[พระประศาสน์พิทยายุทธ|พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ]] [[หลวงวีระโยธิน|พ.ต.หลวงวีระโยธิน]] [[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] [[ประยูร ภมรมนตรี|ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี]] [[จรูญ ณ บางช้าง|นายจรูญ ณ บางช้าง]] [[สงวน ตุลารักษ์|นายสงวน ตุลารักษ์]] และมี [[พระศรยุทธเสนี|พล.ร.ต.พระศรยุทธเสนี]] เป็นผู้นำเข้าเฝ้า[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* [[25 สิงหาคม]] - คณะราษฎรโดย [[วัน จามรมาน|พระยานิติศาสตร์ไพศาล]] จดทะเบียนจัดตั้ง ''[[สมาคมคณะราษฎร]]'' ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นพรรคการเมืองแรกของไทย (เพราะในสมัยนั้นยังไม่มีบัญญัติคำว่า "พรรคการเมือง") <ref>รากฐานไทย, [http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=157 ความเป็นมาพรรคการเมืองไทย], เว็บไซต์[[รากฐานไทย]]</ref><ref name="sarakadee-khana-ratsadon-society">สารคดี, [http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=News&file=article&sid=2327 วันนี้ในอดีต: 25 สิงหาคม], [[นิตยสารสารคดี]], 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550</ref>
* [[27 มิถุนายน]] - [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ลงพระปรมาภิไธยในธรรมนูญการปกครองประเทศ โดยทรงเพิ่มคำว่า ''"ชั่วคราว"'' ต่อท้ายธรรมนูญการปกครองประเทศ ซึ่ง[[ปรีดี พนมยงค์]]เป็นผู้ร่าง<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หน้า 111 หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543</ref>
* [[10 ธันวาคม]] - สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบ[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับถาวรผ่านการเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรถาวฉบับแรก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้บริหารชุดใหม่ในนามใหม่ คือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจำนวน 20 นาย (โดยไม่ได้ใช้ชื่อตำแหน่งว่า ประธานคณะกรรมการราษฎร และ กรรมการราษฎร อีกต่อไป) คณะบริหารชุดใหม่มีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรี และมีรัฐมนตรีประจำกระทรวง 7 กระทรวง และ[[รัฐมนตรีลอย]]อีก 13 คน<ref name="history-politics" />
* [[28 มิถุนายน]] - [[สภาผู้แทนราษฎร]]สมัยแรก ตามธรรมนูญการปกครองประเทศชั่วคราว มีสมาชิก 70 คน โดยแต่งตั้งจากคณะราษฎร 31 คน และจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ในระบอบเดิม 39 คน ทำการเลือก[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] เป็นประธานกรรมการราษฎร (เทียบเท่าตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] คนแรกของประเทศไทย)<ref name="sarakadee-24-june-2475">[http://www.sarakadee.com/feature/1999/06/2475.htm www.sarakadee.com ยุทธการยึดเมือง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]</ref> [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]] เป็น[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก และมีปรีดี พนมยงค์ เป็น[[เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]คนแรก<ref>''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์'' หน้า 112 หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543</ref>
* [[15 มีนาคม]] - นายปรีดีเสนอ "[[สมุดปกเหลือง|เค้าโครงร่างเศรษฐกิจ]]" หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" เพื่อให้พิจารณาใช้เป็นหลักสำหรับนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ<ref name="pridi-fo">[http://www.pridi-fo.th.com/pridi-profile.htm www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์]</ref><ref>อนุสรณ์ ธรรมใจ, [http://www.pridiinstitute.com/autopage/show_page.php?h=25&s_id=2&d_id=1 ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547], 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร</ref>
* [[25 สิงหาคม]] - คณะราษฎรโดย [[วัน จามรมาน|พระยานิติศาสตร์ไพศาล]] จดทะเบียนจัดตั้ง ''[[สมาคมคณะราษฎร]]'' ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นพรรคการเมืองแรกของไทย (เพราะในสมัยนั้นยังไม่มีบัญญัติคำว่า "พรรคการเมือง") <ref>รากฐานไทย, [http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=157 ความเป็นมาพรรคการเมืองไทย], เว็บไซต์[[รากฐานไทย]]</ref><ref name="sarakadee-khana-ratsadon-society">สารคดี, [http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=News&file=article&sid=2327 วันนี้ในอดีต: 25 สิงหาคม], [[นิตยสารสารคดี]], 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550</ref>
* [[10 ธันวาคม]] - [[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับถาวรผ่านการเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้บริหารชุดใหม่ในนามใหม่ คือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจำนวน 20 นาย (โดยไม่ได้ใช้ชื่อตำแหน่งว่า ประธานคณะกรรมการราษฎร และ กรรมการราษฎร อีกต่อไป) คณะบริหารชุดใหม่มีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรี และมีรัฐมนตรีประจำกระทรวง 7 กระทรวง และรัฐมนตรีลอยอีก 13 คน<ref name="history-politics" />
* [[15 มีนาคม]] - นายปรีดีเสนอ "[[สมุดปกเหลือง|เค้าโครงร่างเศรษฐกิจ]]" หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" เพื่อให้พิจารณาใช้เป็นหลักสำหรับนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ<ref name="pridi-fo">[http://www.pridi-fo.th.com/pridi-profile.htm www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์]</ref><ref>อนุสรณ์ ธรรมใจ, [http://www.pridiinstitute.com/autopage/show_page.php?h=25&s_id=2&d_id=1 ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547], 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร</ref>
 
=== [[พ.ศ. 2476]] ===