ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 101:
 
{{วิกิซอร์ซ|พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การรถไฟฟ้ามหานคร พ.ศ. ๒๕๓๕}}
'''การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย''' ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2535 ในชื่อ '''[[องค์การรถไฟฟ้ามหานคร]]''' มีชื่อภาษาอังกฤษคือ ''Metropolitan Rapid Transit Authority'' จัดตั้งขึ้นภายใต้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง'''องค์การรถไฟฟ้ามหานคร''' พ.ศ 2535<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/090/1.PDF พระราชบัญญตัองค์การรถไฟฟ้ามหานคร พ.ศ. 2535]</ref> โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2535 มีวัตถุประสงค์ในการจัดระบบขนส่งมวลชน ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยใช้รถไฟฟ้า
 
ในภายหลังได้มีการออก[[พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543]] ซึ่งได้ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 2 ธันวาคม 2543 "องค์การรถไฟฟ้ามหานคร"จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ''การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย'' มีชื่อภาษาอังกฤษคือ "Mass Rapid Transit Authority of Thailand"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00019502.PDF พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543]</ref>
 
พระราชบัญญัติฉบับใหม่ดังกล่าวยังให้อำนาจหน้าที่ '''รฟม.''' เพิ่มขึ้นหลายอย่าง เช่น มีอำนาจกำหนด "เขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้า" เพื่อคุ้มครองอุโมงค์และสิ่งก่อสร้างใต้ดิน และกำหนดเขต "ระบบรถไฟฟ้า" เพื่อคุ้มครองดูแลคนโดยสารรถไฟฟ้า และระบบรถไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังให้ '''รฟม.''' สามารถหารายได้ทางอื่นนอกจากค่าโดยสาร และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ได้ตามความจำเป็น เพื่อประโยชน์แก่การให้บริการรถไฟฟ้า และมีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการรถไฟฟ้า ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งอาจดำเนินกิจการรถไฟฟ้าในจังหวัดอื่นตามที่จะได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้อำนาจด้วย <ref>http://www.mrta.co.th/about_mrta.htm </ref>
 
พระราชบัญญัติฉบับใหม่ดังกล่าวยังให้อำนาจหน้าที่ รฟม. เพิ่มขึ้นหลายอย่าง เช่น มีอำนาจกำหนด "เขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้า" เพื่อคุ้มครองอุโมงค์และสิ่งก่อสร้างใต้ดิน และกำหนดเขต "ระบบรถไฟฟ้า" เพื่อคุ้มครองดูแลคนโดยสารรถไฟฟ้า และระบบรถไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังให้ รฟม. สามารถหารายได้ทางอื่นนอกจากค่าโดยสาร และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ได้ตามความจำเป็น เพื่อประโยชน์แก่การให้บริการรถไฟฟ้า และมีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการรถไฟฟ้า ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งอาจดำเนินกิจการรถไฟฟ้าในจังหวัดอื่นตามที่จะได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้อำนาจด้วย <ref>http://www.mrta.co.th/about_mrta.htm </ref>
== คณะกรรมการ ==
#พลเอก ยอดยุทธ บุญญาธิการ ประธานกรรมการ