ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุวรรณภูมิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{ข้อความแก้กำกวม|สุวรรณภูมิ|สุวรรณภูมิ}}
 
'''สุวรรณภูมิ''' เป็นชื่อเรียกดินแดนที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์โบราณหลายฉบับในทาง[[พุทธศาสนา]] ซึ่งคำว่าสุวรรณภูมินี่มีความหมายว่า "แผ่นดินทอง"
 
คำว่าสุวรรณภูมิ แปลว่า "แผ่นดินทอง" ปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์ชาดก(เรื่องราวที่มีอดีตมายาวนาน) เช่น มหาชนกชาดก กล่าวถึงพระมหาชนกเดินทางมาค้าขายที่สุวรรณภูมิ แต่เรือแตกกลางทะเล ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 ราว พ.ศ. ๒๓๔234 พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระธรรมทูตมาเผยแผ่พุทธศาสนาที่สุวรรณภูมิ โดยมีพระโสณะและพระอุตตระเป็นประธาน เมื่อท่านมาถึง ได้ปราบผีเสื้อสมุทรที่ชอบเบียดเบียนชาวสุวรรณภูมิ ทำให้ชาวสุวรรณภูมิเลื่อมใส จากนั้นท่านได้แสดงพรหมชาลสูตร เป็นที่น่าสังเกตว่า ตอนปราบผีเสื้อสมุทร ท่านได้สวดพระปริตรป้องกันเกาะสุวรรณภูมิไว้ จึงมีคำเรียก สุวรรณภูมิ อีกชื่อหนึ่งว่า สุวรรณทวีป แปลว่า เกาะทอง เมื่อสันนิษฐานจากสองคำนี้ ทำให้ได้ข้อสรุปอย่างน้อย 2 อย่าง คือ 1 สุึวรรณภูมิเป็นดินแดนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และ 2 สุวรรณทวีป คือ เกาะที่อยู่ติดกับสุวรรณภูมิ และเนื่องจากในชาดกกว่าว่า สุวรรณภูมิอยู่ทางทิศตะวันออกของอินเดีย เมื่อพิจารณาจากแผนที่โลก จึงน่าจะสันนิษฐานได้ต่อไปว่า สุวรรณภูมิ ส่วนที่เป็นแผ่นดิน ได้แก่ พม่า ไทย กัมพูชา ส่วน สุวรรณทวีป ที่เป็นเกาะ น่าจะได้แก่ หมู่เกาะชวา สุมาตรา หรืออินโดนีเซีย ตลอดทั้งฟิลิปปินส์ เมื่อพิจารณาหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาพบว่า เมืองหงสาวดี และเมืองนครปฐมสมัยทวารวดี มีอายุเก่าแก่ที่สุด และร่วมสมัยกัน คือ ราว พุทธศตวรรษที่ 6 แต่ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในแถบนี้ ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดราว พุทธศตวรรษที่ ๑๑11-๑๒12 อยู่ที่จังหวัดนครปฐม โดยพบธรรมจักรมากมาย จึงสันนิษฐานว่า ศูนย์กลางสุวรรณภูมิน่าจะอยู่ที่เมืองโบราณ บริเวณพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม--[[ผู้ใช้:58.8.183.142|58.8.183.142]] 19:41, 23 สิงหาคม 2007 (UTC)
 
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]]
เส้น 10 ⟶ 11:
[[en:Suwannaphum]]
[[fr:Suvarnabhumi]]
คำว่าสุวรรณภูมิ แปลว่า "แผ่นดินทอง" ปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์ชาดก(เรื่องราวที่มีอดีตมายาวนาน) เช่น มหาชนกชาดก กล่าวถึงพระมหาชนกเดินทางมาค้าขายที่สุวรรณภูมิ แต่เรือแตกกลางทะเล ในสมัยสังคายนาครั้งที่ ๓ ราว พ.ศ. ๒๓๔ พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระธรรมทูตมาเผยแผ่พุทธศาสนาที่สุวรรณภูมิ โดยมีพระโสณะและพระอุตตระเป็นประธาน เมื่อท่านมาถึง ได้ปราบผีเสื้อสมุทรที่ชอบเบียดเบียนชาวสุวรรณภูมิ ทำให้ชาวสุวรรณภูมิเลื่อมใส จากนั้นท่านได้แสดงพรหมชาลสูตร เป็นที่น่าสังเกตว่า ตอนปราบผีเสื้อสมุทร ท่านได้สวดพระปริตรป้องกันเกาะสุวรรณภูมิไว้ จึงมีคำเรียก สุวรรณภูมิ อีกชื่อหนึ่งว่า สุวรรณทวีป แปลว่า เกาะทอง เมื่อสันนิษฐานจากสองคำนี้ ทำให้ได้ข้อสรุปอย่างน้อย ๒ อย่าง คือ ๑ สุึวรรณภูมิเป็นดินแดนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และ ๒ สุวรรณทวีป คือ เกาะที่อยู่ติดกับสุวรรณภูมิ และเนื่องจากในชาดกกว่าว่า สุวรรณภูมิอยู่ทางทิศตะวันออกของอินเดีย เมื่อพิจารณาจากแผนที่โลก จึงน่าจะสันนิษฐานได้ต่อไปว่า สุวรรณภูมิ ส่วนที่เป็นแผ่นดิน ได้แก่ พม่า ไทย กัมพูชา ส่วน สุวรรณทวีป ที่เป็นเกาะ น่าจะได้แก่ หมู่เกาะชวา สุมาตรา หรืออินโดนีเซีย ตลอดทั้งฟิลิปปินส์ เมื่อพิจารณาหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาพบว่า เมืองหงสาวดี และเมืองนครปฐมสมัยทวารวดี มีอายุเก่าแก่ที่สุด และร่วมสมัยกัน คือ ราว พุทธศตวรรษที่ ๖ แต่ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในแถบนี้ ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดราว พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ อยู่ที่จังหวัดนครปฐม โดยพบธรรมจักรมากมาย จึงสันนิษฐานว่า ศูนย์กลางสุวรรณภูมิน่าจะอยู่ที่เมืองโบราณ บริเวณพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม--[[ผู้ใช้:58.8.183.142|58.8.183.142]] 19:41, 23 สิงหาคม 2007 (UTC)