ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮวัง กโย-อัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 36:
|title= The constitution of the republic of Korea |author=|date = |work= |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> และในวันที่ 10 มีนาคม 2560 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับรองการถอดถอนพักออกจากตำแหน่ง <ref>{{cite web |url= https://www.dailynews.co.th/foreign/541804 |title= รู้จัก "ฮวาง คโยขอัน" รักษาการผู้นำเกาหลีใต้ |author=|date= 10 ธันวาคม 2559 |work= เดลินิวส์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> มีข้อส้งเกตจากนักวิเคราะห์การเมืองของเกาหลีใต้หลายคนมองว่า ฮวัง ไม่น่าจะขึ้นมาเป็นผู้สมัครในการเลือกตั้งที่จะมาถึงได้ เนื่องจากเขาใกล้ชิดกับรัฐบาลของพักมากเกินไป <ref>{{cite web |url= http://www.bbc.com/thai/international-39230361 |title= จะเกิดอะไรขึ้นในเกาหลีใต้ หลังศาลรับรองมติถอดถอน ปธน. |author=|date= 10 มีนาคม 2560 |work= บีบีซีไทย |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}} </ref> เนื่องจากในช่วงที่รัฐสภาถอดถอนอดีตประธานาธิบดีพัก ฮวังเป็นสมาชิกระดับสูงเพียงไม่กี่คนในคณะรัฐบาลที่ออกมาปกป้องเธอจากข้อครหาเรื่องการคอร์รัปชั่น <ref>{{cite web |url= https://www.dailynews.co.th/foreign/541804 |title= รู้จัก "ฮวาง คโยขอัน" รักษาการผู้นำเกาหลีใต้ |author=|date= 10 ธันวาคม 2559 |work= เดลินิวส์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> และในที่สุดฮวังประกาศว่าตนจะไม่ลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ ซึ่งจะมีขึ้นในช่วงเดือน พฤษภาคม 2560
 
ในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่งรักษาการประธานาธิบดี มีเหตุการณ์ที่ตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกาและเกาหลีเหนือ และในช่วงกลางเดือน เมษายน พ.ศ.2560 เขาได้มีโอกาสต้อนรับการเยือนอย่างเป็นทางการของ[[รองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา]] อันมีขึ้นระหว่างความตึงเครียดในสถานการณ์คาบสมุทรเกาหลี ที่มีขึ้นหลังจากเกาหลีเหนือทดลองอาวุธขีปนาวุธหลายครั้งและสหรัฐอเมริกาเกิดความไม่พอใจจึงได้นำเรือรบเข้าประชิดเกาหลีเหนือมากยิ่งขึ้นด้วย
 
== ประวัติ ==