ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แปซิฟิกใต้ในอาณัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แทนที่ "เซาธ์แปซิฟิกแมนเดต" → "แปซิฟิกใต้ในอาณัติ" ด้วยสจห.
บรรทัด 61:
 
==การปกครอง==
หลังจากญี่ปุ่นได้รับมอบหมายการปกครองเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติจากสันนิบาติ ในปี ค.ศ. 1914 รัฐบาลกลางญี่ปุ่นได้มอบหมายให้ผู้บัญชาการของกองกำลังป้องกันชั่วคราวทะเลใต้ (South Seas Islands Temporary Garrison) เป็นผู้นำรัฐบาลเของเซาธ์องแปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ โดยผู้บัญชาการจะมีอำนาจในการบังคับบัญชาทหารและพลเรือนในดินแดนแห่งนี้ โดยได้ตั้งศูนย์กลางการบริหารขึ้นที่เกาะซัมเมอร์ (Summer) เกาะแยป (Yap) เกาะยาลูอิต (Jaluit) และเกาะอางาอูร์ (Angaur) (Purcell, 1967: 147)  ในปี ค.ศ. 1915 ได้มีการนำที่ปรึกษาและข้าราชการฝ่ายพลเรือนเข้ามาทำงานในเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตมากขึ้นใต้ในอาณัติมากขึ้น จนกระทั่งในที่สุดในปี ค.ศ. 1918 กองกำลังทหารได้ถ่ายโอนอำนาจทั้งหมดให้ข้าราชการฝ่ายพลเรือนในการปกครองเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ และย้ายศูนย์กลางการบริหารจากเกาะซัมเมอร์มาสู่คอร์รอในเกาะปาเลาในปี ค.ศ. 1922 <ref name="Purcell"/>
 
ในระยะแรกของการปกครองเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1914 – 1922 ญี่ปุ่นปกครองดินแดนแห่งนี้โดยใช้ระบอบที่จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมนีได้วางรากฐานไว้ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงระบบมากนัก <ref name="Purcell"/> การเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1922 เป็นต้นมา แต่ในช่วงปีที่มีความเปลี่ยนแปลงมากที่สุดต่อการการเมืองการปกครองของเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติคือในปี ค.ศ. 1929 เมื่อย้ายหน้าที่ความรับผิดชอบทางด้านการเมืองการปกครองจากการดูแลโดยตรงโดยนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นสู่กระทรวงกิจการโพ้นทะเล (Ministry of Oversea Affairs) ส่วนกิจการด้านอื่นได้ย้ายเข้าสู่กระทรวงที่รับผิดชอบในเรื่องนั้น ๆ เช่น กระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรม เป็นต้น <ref name="Purcell"/> นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงการบริหารส่วนท้องถิ่น โดยเปลี่ยนแปลงจากการแบ่งเขตแบบเดิม ออกเป็นการแบ่งเขตแบบใหม่ โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขต ได้แก่ ไซปัน (Saipan) (หมู่เกาะมาเรียนาส์) แยป (Yap) (หมู่เกาะแคโรไลน์) ปาเลา (Palau) (หมู่เกาะแคโรไลน์) ตรุก (Truk) (หมู่เกาะแคโรไลน์) โปนเปห์ (Ponape) (หมู่เกาะแคโรไลน์) และยาลูอิต (Jaluit) (หมู่เกาะมาร์แชลล์) ซึ่งในแต่ละเขตจะมีข้าหลวงจากส่วนกลางเข้าไปปกครอง ในส่วนท้องถิ่นของแต่ละเขตประกอบไปด้วยหมู่บ้านชาวพื้นเมืองหลายหมู่บ้าน มีหัวหน้าหมู่บ้านและเป็นหัวหน้าชนเผ่าในยุคดั้งเดิมซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากข้าหลวงใหญ่ประจำอาณานิคมทะเลใต้เป็นผู้ปกครอง <ref name="Keishi">Keichi Yamasaki. 1931. The Japanese Mandate in the South Pacific. Pacific Affairs 4(2): 95 – 112.</ref>  ในกรณีของหัวหน้าหมู่บ้านเหล่านี้มักมีหน้าที่ในการช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่นในการจัดทำรายงานต่าง ๆ ภายในดินแดนของตน จัดเก็บภาษีชาวพื้นเมืองผู้มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ไม่พิการและแก่ชรา รวมถึงส่งข้อเสนอของชุมชนของตนต่อเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นเพื่อใช้ในการบริหารจัดการท้องถิ่น เป็นต้น อย่างไรก็ตามแม้ในทางกฎหมาย ญี่ปุ่นจะมอบอำนาจและหน้าที่ให้หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละแห่งเท่าเทียมกัน แต่ในทางปฏิบัติพบว่าอำนาจหน้าที่ในอดีตเป็นส่วนสำคัญที่ก่อให้เกิดสถานะที่มีความแตกต่างกันของหัวหน้าหมู่บ้านแต่ละคน <ref name="Purcell"/> ซึ่งญี่ปุ่นใช้การปกครองรูปแบบนี้เรื่อยมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 <ref name="Useem">Useem, John. 1945. The Changing Structure of Micronesian Society. American Anthropologist n.s.
(47): 567 – 588.</ref>
 
เมื่อพิจารณาจากสถานะของเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ พบว่าสันนิบาติชาติต้องการมอบดินแดนเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติให้กับญี่ปุ่นในสถานะดินแดนในภาวะทรัสตี (ดินแดนในอาณัติ) แม้ว่าสภาวะของเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติในขณะนั้นจะเป็นดินแดนที่ไม่สามารถปกครองตนเองได้และยังมีโครงสร้างทางการเมืองไม่แน่ชัด จึงต้องใช้หลักกฎหมายและการบริหารจัดการเสมือนเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของประเทศแม่ แต่พฤตการณ์ของญี่ปุ่นที่ใช้ในการปกครองพบว่ามักไม่เปิดโอกาสให้ชาวพื้นเมืองเข้ามามีบทบาททางด้านการเมืองการปกครองมากนัก รวมไปถึงการพยายามทำให้ชาวพื้นเมืองเป็นญี่ปุ่น ซึ่งพฤตการณ์ของญี่ปุ่นเป็นไปในลักษณะของการยึดครอง มากกว่าจะปกครองในฐานะดินแดนในอานัติ<ref name="Gilchrist">Gilchrist, Huntington. 1944. The Japanese Islands: Annexation or Trusteeship?. Foreign Affairs 22(4):
635 – 642.</ref>
 
กรณีการขอลาออกจากสันนิบาติชาติ ส่งผลให้สถานะของเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติเริ่มไม่แน่ชัด เนื่องจากดินแดนแมนเดตเป็นดินแดนของสันนิบาติชาติที่มอบให้ประเทศสมาชิกดูแล การลาออดจากสมาชิกภาพย่อมเป็นผลให้การดูแลแมนเดตสิ้นสุดลง ในช่วงเวลานี้พบว่าเยอรมนีได้พยายามเรียกร้องดินแดนส่วนนี้คืนจากญี่ปุ่นหรือให้สันนิบาติชาติหาประเทศสมาชิกอื่นเข้ามาดูแลดินแดนแห่งนี้ อย่างไรก็ตามสันนิบาติชาติไม่ได้ดำเนินการเรียกร้องดินแดนส่วนนี้คืนจากญี่ปุ่น อาจกล่าวได้ว่าสันนิบาติชาติไม่อยากดำเนินมาตรการรุนแรงกับญี่ปุ่นและคาดหวังว่าญี่ปุ่นจะขอกลับเข้ามาเป็นสมาชิกของสันนิบาติชาติอีกครั้ง<ref name="Peattie"/>
 
เมื่อศึกษาระบบการศาลและกระบวนการยุติธรรมในเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตพบว่าใต้ในอาณัติพบว่า รัฐบาลอาณานิคมทะเลใต้ มีการจัดตั้ง หน่วยงานด้านศาลครอบคลุมทุกหมู่เกาะสำคัญของเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ ข้าหลวงใหญ่ประจำอาณานิคมมีอำนาจในการพิจารณีคดีความ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าอำนาจบริหารมีอำนาจเหนือฝ่ายตุลาการในเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ การพิจารณาคดีของชาวญี่ปุ่นและชาวพื้นเมืองดำเนินในลักษณะเดียวกัน ซึ่งผู้พิพากษาของศาลมักได้รับการแต่งตั้งโดยข้าหลวงใหญ่ของเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ <ref name="Peattie"/> ในส่วนของเจ้าหน้าที่รักษาความสงบในเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ ในระยะแรกเป็นหน่วยงานทหารในพื้นที่ เมื่อหน่วยงานทหารโอนอำนาจให้ฝ่ายพลเรือนแล้ว หน่วยงานที่ทำหน้าที่รักษาความปลอดภัยในพื้นที่คือตำรวจ โดยนายตำรวจระดับสูงมักเป็นชาวญี่ปุ่น และตำรวจระดับปฏิบัติการเป็นชาวพื้นเมืองผสมผสานกับชาวญี่ปุ่น <ref name="South Sea Government"/>
 
==การทหาร==
ญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับดินแดนนี้เป็นอย่างมาก จากที่กล่าวในตอนต้นนั้นพบว่าญี่ปุ่นมองดินแดนแห่งนี้ในฐานะเป็นดินแดนที่มีผลประโยชน์ทางด้านการทหารเป็นหลัก เนื่องจากดินแดนแห่งนี้เป็นหมู่เกาะที่ทอดตัวยาวเหนือเส้นศูนย์สูตร ส่งผลให้มีความเหมาะสมต่อการเป็นแหล่งเสบียงอาหารและเติมน้ำมันเชื้อเพลิง เมื่อพิจารณาจากแหล่งที่ตั้งแล้ว พบว่าเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติ ตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างฮาวายและฟิลิปปินส์อันเป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา สามารถใช้เป็นฐานทัพป้องกันการรุกรานจากสหรัฐอเมริกาสู่แผ่นดินญี่ปุ่นได้ ความสำคัญและความเป็นพื้นที่ในจุดยุทธศาสตร์สำคัญของพื้นที่เซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติได้แสดงให้เห็นในการนำเครื่องบินโจมตีเรือรบของสหรัฐอเมริกาในอ่าวเพิร์ล ฮาเบอร์ ในสมัยสงครามโลกคร้งที่ 2 และดินแดนเซาธ์แปซิฟิกแมนเดตใต้ในอาณัติได้กลายเป็นสมรภูมิสำคัญของสงครามแปซิฟิกตลอดระยะเวลาสงคราม<ref name="Gilchrist"/>
 
==เศรษฐกิจ==