ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกมทศกัณฐ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Khemmarin wannalo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|โปร=yes|ยาวมาก=yes}}
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
| show_name = '''เกมทศกัณฐ์'''
| image =
| caption =
| genre = [[เกมโชว์]]
| format =
| runtime = 30 นาที
| creator =
| presenter = [[ปัญญา นิรันดร์กุล]]
| network = [[โมเดิร์นไนน์ทีวี]]
| location = สตูดิโอกรุงเทพ <br/>[[เวิร์คพอยท์สตูดิโอ]]
| first_run =
| first_aired = [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2546]] - [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2551]]
| last_aired =
| country = [[ไทย]]
| language = [[ไทย]]
| producer = [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์|บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)]]
| director = [[รุ่งธรรม พุ่มสีนิล]]
| related = [[ยกสยาม]]
|website =
}}
 
'''เกมทศกัณฐ์''' เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ที่ผลิตโดย[[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์|บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)]] ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2546]] ทาง [[โมเดิร์นไนน์ทีวี]] สร้างสรรค์และควบคุมการผลิตโดย [[รุ่งธรรม พุ่มสีนิล]]
 
== พิธีกรดำเนินรายการ ==
* [[ปัญญา นิรันดร์กุล]] ([[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2546]] - [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2551]])
 
== ประวัติ ==
รายการ เกมทศกัณฐ์ ออกอากาศทาง โมเดิร์นไนน์ ทีวี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์รายการแรกที่รางวัลแจ๊คพอตที่มีเงินรางวัลสูงสุดถึง 10 ล้านบาทนับถือว่าเป็นรางวัลแจ๊คพอตสูงที่สุดในวงการของรายการเกมโชว์โทรทัศน์ไทยและในเอเชีย (โดยเฉพาะ "เกมทศกัณฐ์ยกทัพ" ที่มีรางวัลแจ๊คพอตสูงถึง 30 ล้านบาท) เพียงตอบคำถามใบหน้าของบุคคลที่มีชื่อเสียงสำคัญ ๆ ของคนทั่วทั้งโลก ตอบถูกครบ 10 หน้า รับไปเลยรางวัลแจ๊คพอตสูงที่สุด 10 ล้านบาทและนับตั้งแต่ออกอากาศเกมทศกัณฐ์จนไปถึงยกสยาม 1 เมษายน 2546 - 28 กุมภาพันธ์ 2554 ทั้งหมดเป็นเวลาเกือบ 8 ปีทางรายการได้แจกรางวัลไปทั้งหมดเกือบ 70 ล้านบาท
 
== ชื่อรายการ ==
# '''เกมทศกัณฐ์''' (1 เมษายน 2546 - 31 มีนาคม 2548) รวม 1 ปี 11 เดือน 30 วัน
# '''ทศกัณฐ์ยกทัพ''' (31 ตุลาคม 2548 - 29 ธันวาคม 2549) รวม 1 ปี 1 เดือน 28 วัน
# '''ทศกัณฐ์จำแลง''' (1 มกราคม 2550 - 15 มิถุนายน 2550) รวม 6 เดือน 14 วัน
# '''[[ยกสยาม|ทศกัณฐ์ยกสยาม]]''' (18 กุมภาพันธ์ 2551 - 25 กุมภาพันธ์ 2553) รวม 2 ปี 7 วัน
# '''[[ยกสยาม|ยกสยาม ๑๐๐ ข้อ]]''' (1 มีนาคม 2553 - 2 มิถุนายน 2553) รวม 3 เดือน 1 วัน
# '''[[ยกสยาม|ยกสยาม ๑๐ ข้อ]]''' (3 มิถุนายน 2553 - 28 กุมภาพันธ์ 2554) รวม 8 เดือน 25 วัน
 
=== ชื่อรายการพิเศษ ===
# '''ทศกัณฐ์ ศึกทศกัณฐ์หน้าทอง''' (1 เมษายน 2548 - 28 ตุลาคม 2548) รวม 9 เดือน 27 วัน
# '''ทศกัณฐ์ช่วยครูใต้''' (18 มิถุนายน 2550 - 15 กุมภาพันธ์ 2551) รวม 8 เดือน 27 วัน
 
== วันและเวลาออกอากาศ ==
เส้น 14 ⟶ 50:
* มิถุนายน 2555 ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 19.00 - 19.30 น.
* สิงหาคม - ตุลาคม 2555 ออกอากาศรีรันทางช่องเวิร์คพอยท์ทีวี ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 13.00 - 13.30 น.
 
== กติกา ==
 
=== เกมทศกัณฐ์ (ยุคแรก, ปางใหม่) ===
ผู้เข้าแข่งขันที่สมัครเข้ามาร่วมเล่นในรายการจะนั่งอยู่บนอัฒจรรย์ โดยทางรายการจะสุ่มไฟ ไฟติดที่ด้านหน้าของผู้เข้าแข่งขันคนใด ผู้เข้าแข่งขันคนนั้นจะได้ลงมาเล่นเกมบนเวที
เกมจะเริ่มขึ้นโดย ผู้เข้าแข่งขันทั้งสอง จะต้องเอามือวางบนจอมอนิเตอร์ด้านหน้าของตน เมื่อใบหน้าปรากฏบนจอ (โดยจะมีใบหน้าที่ต้องตอบ และใบหน้าถัดใบที่มีเพียงครึ่งเดียว) ผู้ที่กดไฟได้ก่อนจะมีสิทธิ์ตอบ (หากผู้เข้าแข่งขันกดปุ่มก่อนที่ภาพจะขึ้น ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเล่นทั้ง ๆ ที่ไม่มีภาพ) ผู้เข้าแข่งขันจะต้องตอบ'''ชื่อเล่น, ชื่อจริง, นามสกุลจริง, ชื่อที่รู้จักเป็นวงกว้าง'''อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด ของบุคคลในภาพให้ถูกต้อง (ในกรณีที่ตอบเฉพาะชื่อจริงเพียงอย่างเดียว จะต้องระบุด้วยว่าเขาหรือเธอมีอาชีพอะไร และหากตอบเป็นชื่อตัวละครที่บุคคลนั้นแสดงจะถือว่าตอบผิด)
 
* หากตอบได้ถูกต้อง ผู้เข้าแข่งขันจะมีคะแนนสะสม หน้าละ 1 คะแนน และเงินรางวัลแจ็คพ๊อตสะสมเพิ่มขึ้น 5,000 บาท
* หากตอบผิด เกมของผู้เข้าแข่งขันผู้นั้นจะหยุดลง
* หากผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจ จะมีสิทธิ์โยนให้ฝ่ายตรงข้าม 1 ครั้ง ถ้าหากฝ่ายตรงข้ามตอบถูก เกมของผู้ที่โยนจะหยุดลง แต่หากตอบผิด ผู้ที่โยนจะได้เล่นในใบหน้าถัดไป ทั้งนี้ ใบหน้าที่โยนนั้น จะไม่มีผลต่อคะแนนและเงินรางวัลสะสม
เมื่อเล่นครบทั้ง 2 ฝ่ายแล้ว ผู้ที่มีคะแนนสะสมมากกว่า จะเป็นฝ่ายชนะไป หากทั้ง 2 ฝ่ายมีคะแนนสะสมเท่ากัน จะต้องเล่นใหม่ จนกว่าจะรู้ผลแพ้ชนะ
 
ผู้ที่ชนะจะเป็นแชมป์ และอยู่เล่นเกมต่อในรายการ โดยในแต่ละรอบการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันทั้งสองจะได้รับเงินรางวัล 5,000 บาท ไม่ว่าแพ้หรือชนะ โดยแชมป์จะมีเงินรางวัลพิเศษเพิ่มเติมในทุก ๆ 10 สมัย จะได้รับเงินรางวัลอีก 100,000 บาท (ยกเว้นในสมัยที่ 5 ที่จะได้รับเงินรางวัลพิเศษไปก่อนต่างหาก 50,000 บาท)
 
ถ้าหากผู้เข้าแข่งขันคนใด สามารถตอบใบหน้าถูกครบ 10 หน้า จะได้รับเงินรางวัลแจ็คพ๊อตที่สะสมมา และจะเริ่มสะสมเงินรางวัลแจ็คพ๊อตใหม่
อย่างไรก็ดี ในเวลาต่อมา กติกาการให้รางวัลแจ๊คพ็อตได้เปลี่ยนเป็น หากผู้เข้าแข่งขันตอบภาพใบหน้าได้ครบ 10 หน้า จะได้รับเงินรางวัล 1,000,000 บาท หากในเดือนนั้น ๆ ยังไม่มีผู้ใดทำแจ๊คพ็อตแตก เงินรางวัลจะเพิ่มขึ้นเดือนละ 1,000,000 บาท จนถึง 10,000,000 บาท แต่เมื่อมีการทำแจ๊คพ๊อตแตกในครั้งที่ 2 โดยคุณสมพร ทางรายการได้แจ้งว่าจะไม่นับเดือนละ 1,000,000 อีกต่อไป โดยจะตั้งรางวัลไว้เลยที่ 10,000,000 เสมอ
 
สำหรับเกมทศกัณฐ์ปางใหม่นั้น กติกาจะเหมือนเดิมทุกอย่าง เพียงแต่ใบหน้าที่นำมาทายนั้น จะเป็นภาพวัยเด็กของบุคคลต่าง ๆ ทั้งหมด และเงินรางวัลแจ๊คพอตจะคงอยู่ที่ 10,000,000 บาทตลอดการแข่งขัน
 
=== ศึกทศกัณฐ์หน้าทอง ===
ศึกทศกัณฐ์หน้าทอง คือการแข่งขันของ 10 แชมป์ของเกมทศกัณฐ์ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด ผู้ที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1,000,000 บาท และ รางวัลทศกัณฐ์หน้าทองคำ และใครตอบใบหน้าสะสมได้มากที่สุดรับเงินรางวัลมูลค่า 100,000 บาท
 
=== เกมทศกัณฐ์ยกทัพ ===
กติกาในการทายใบหน้านั้นเหมือนเดิม แต่ในเกมทศกัณฐ์ยกทัพนั้น จะแข่งขันในแบบทีม ทีมละ 3 คน โดยจะถูกแบ่งออกเป็นทีม'''สีแดง'''และ'''สีน้ำเงิน''' ทั้ง 2 ทีมจะถูกสุ่มไฟขึ้นมา โดยเริ่มแรกนั้น ทั้ง 2 ทีมจะส่งตัวแทนออกมาทีมละ 1 คนเพื่อเล่นเกม โดยจะมีภาพใบหน้าของบุคคลให้ก่อน 2 ภาพ ภาพละครึ่งใบหน้า เมื่อภาพขึ้นมาแล้ว ทั้ง 2 ทีมจะต้องชักธงรบ (เหมือนการกดปุ่มไฟ) ไฟติดที่ทีมไหน จะได้เลือกใบหน้าที่จะเล่นและมีสิทธิ์ที่จะเลือกเล่นครึ่งหน้าหรือเต็มหน้า (การทายครึ่งหน้าจะชนะการทายเต็มหน้า) เมื่อเล่นครบทั้งสองคน คนที่แพ้จะต้องลงจากเวที ทีมไหนตกรอบทั้งทีมก่อนจะเป็นฝ่ายแพ้ไป ทีมที่ชนะจะได้เป็นแชมป์และเข้าไปเล่นรอบแจ๊คพอต ทั้งนี้ ทั้ง 2 ทีมจะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท
 
อย่างไรก็ดี ในเวลาต่อมา ได้มีการเปลี่ยนกติกาเล็กน้อยคือ มีภาพใบหน้าให้ดูเพียงครึ่งใบหน้า เมื่อใบหน้าขึ้นบนจอจะต้องชักธงรบเพื่อชิงสิทธิ์ในการตอบ ถ้าตอบถูกอีกคนในทีมตรงข้ามจะต้องลงจากเวที แต่ถ้าตอบผิดจะต้องลงจากเวทีเอง ทั้งนี้ หากชักธงได้ แต่ไม่มั่นใจ สามารถโยนให้ฝ่ายตรงข้ามตอบ ซึ่งถ้าโยนแล้วฝ่ายตรงข้ามตอบถูก ฝ่ายที่โยนต้องลงจากเวที แต่ถ้าตอบผิดต้องลงจากเวทีเอง ทีมไหนคนลงหมดเวทีก่อน จะตกรอบไป ส่วนอีกทีมหนึ่งจะได้เลือกว่าจะสะสมเงินรางวัลเพิ่ม 10,000 บาท หรือเรียกเพื่อนขึ้นมาบนเวทีอีกหนึ่งคน ภายหลัง ทุก ๆ 10 สมัย ทีมแชมป์จะต้องเลือกว่าต้องการคนเพิ่ม หรือสะสมเงินรางวัลเพิ่มอีก 100,000 (หากทีมแชมป์มีผู้เล่นครบ 3 คน จะได้รับเงินรางวัลสะสมเพิ่มโดยอัตโนมัติ)
 
ในทุก ๆ ครั้งที่เป็นแชมป์ (หรือทุก ๆ 10 สมัยในกติกาใหม่) ทีมแชมป์จะได้เล่นรอบแจ๊คพ็อต ซึ่งจะมีใบหน้าที่ถูกตัดและสลับเป็น 5 ส่วน ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกว่าจะเป็นภาพกี่ส่วน โดยจะมีเงินรางวัลต่างกันดังนี้
* เปิด 1 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 10,000,000 บาท
* เปิด 2 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 1,000,000 บาท
* เปิด 3 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 100,000 บาท
* เปิด 5 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 10,000 บาท
ผู้เข้าแข่งขันมี 60 วินาทีในการตอบ หากตอบถูกจะได้รับเงินรางวัลตามอัตราข้างต้น คูณกับจำนวนคนที่มีในรอบนั้น (ฉะนั้น รางวัลแจ๊คพ็อตคือ 30,000,000 บาท)
แต่หากผู้เข้าแข่งขันตอบผิด จะตกรอบในทันที หากไม่มั่นใจ ผู้เข้าแข่งขันมีสิทธิ์ยกธงขาว (ยอมแพ้) โดยจะไม่ได้รางวัลแจ๊คพ็อต แต่ยังคงได้เล่นเกมต่อไป
 
อย่างไรก็ดี ในกติกาใหม่นั้น ทีมแชมป์จะมีเวลา 60 วินาที โดยจะเริ่มจากการเปิด 1 ส่วนก่อน หากตอบไม่ได้จะมีสิทธิ์หยุดเวลา เพื่อเปิดส่วนของใบหน้าเพิ่ม แต่เงินรางวัลจะถูกลดลงตามอัตราเดิม โดยจะเล่นอย่างนี้ไปเรี่อย ๆ จนกว่าจะตอบ, ยกธงขาว
 
=== เกมทศกัณฐ์จำแลง ===
รูปแบบการเล่นในเกมทศกัณฐ์จำแลง จะเป็นการทายใบหน้าจากคำใบ้ที่กำหนด โดยจะสุ่มผู้เข้าแข่งขันขึ้นมาเล่น ในเกมนี้จะแข่งกัน 2 คน โดยกติกาเริ่มแรกสุดคือทั้ง 2 ฝ่ายต้องแข่งกดไฟเพื่อชิงสิทธิ์เล่นก่อน โดยจะมีคำใบ้ปรากฏบนหน้าจอของตัวเอง มาคำใบ้มาแล้ว ต้องแข่งกันกดไฟ ใครกดได้ก่อน มีสิทธิ์ได้เล่นในคำใบ้นี้ จากนั้นจะปรากฏใบหน้า 3 ใบหน้าเพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันทาย ผู้เข้าแข่งขันจะต้องทายให้ถูกว่าคำใบ้ที่ได้มาหมายถึงบุคคลใดใน 3 คนนี้ ถ้าตอบถูกจะได้ 1 คะแนน และมีสิทธิ์เล่นในข้อต่อไป หากตอบผิด เกมจะหยุดลงทันที หากผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจสามารถโยนได้ 1 ครั้ง ซึ่งหลักการโยน มีลักษณะเช่นเดียวกับเกมทศกัณฐ์ในรูปแบบแรก นั่นคือ หากโยนมาแล้วอึกฝ่ายหนึ่งตอบถูก เกมของผู้ที่โยนมาต้องหยุดลงทันที แต่ถ้าอีกฝ่ายหนึ่งตอบผิด ผู้ที่โยนมาจะมีสิทธิ์เล่นต่อไป โดยที่ใบหน้าที่โยนไปจะไม่มีผลต่อคะแนน เมื่อฝ่ายหนึ่งเล่นเสร็จ อีกฝ่ายหนึ่งจะได้เล่นในกติกาเดียวกัน เมื่อจบการแข่งขันของทั้ง 2 ฝ่าย ใครมีคะแนนมากกว่า จะได้เป็นแชมป์
 
ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนกติกา คือจะไม่มีการกดไฟ และทั้ง 2 ฝ่ายจะผลัดกันเล่นทีละข้อ โดยผู้ท้าชิงจะได้เล่นก่อน ผู้ท้าชิงจะเป็นตัวตั้งให้กับแชมป์ ถ้าผู้ท้าชิงตอบถูก แชมป์ต้องตอบให้ถูกเพื่อเสมอกับผู้ท้าชิง หากตอบผิด แพ้ทันที แต่ถ้าผู้ท้าชิงตอบผิด แชมป์ต้องตอบให้ถูกเพื่อเป็นแชมป์ต่อไป หากตอบผิด ถือว่าเสมอกัน
 
ในการเป็นแชมป์ทุก ๆ 1 สมัย จะได้เงินรางวัล 10,000 บาท และเมื่อครบทุก 10 สมัย จะมีสิทธิ์เล่นในรอบแจ๊คพอต
 
เกมในรอบแจ๊คพอตนั้นมีความคล้ายคลึงกับรอบแจ๊คพอตของเกมทศกัณฐ์ยกทัพ นั่นคือ จะมีใบหน้า 1 ใบหน้า ถูกตัดเป็น 5 ส่วน แล้วสลับแต่ละส่วนกัน การเล่นคือจะเริ่มเปิดตั้งแต่หมายเลข 1-5 ซึ่งแต่ละส่วนที่เปิดนั้นจะมาพร้อมกับ 1 คำใบ้ ผู้เข้าแข่งขันมีเวลา 60 วินาทีในการตอบ และแจ๊คพอตจะเริ่มที่ 10,000,000 บาท หากไม่มั่นใจสามารถขอหยุดเวลาแล้วเปิดอีก 1 ส่วนพร้อมกับอีก 1 คำใบ้ แต่ละครั้งที่เปิด แจ๊คพอตจะลดลงเหลือ 1,000,000 บาท, 100,000 บาท และ 10,000 บาท ซึ่งระดับ 10,000 บาทนี้ จะเปิด 2 ส่วน พร้อมกับ 2 คำใบ้ และถ้าผู้เข้าแข่งขันตอบถูกจะได้เงินรางวัลตามระดับที่เล่น แต่ถ้าตอบผิดจะเสียแชมป์ทันที แต่ถ้าผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจสามารถยกธงขาวยอมแพ้ได้ โดยที่จะไม่ได้เงินรางวัลตรงนี้ไป แต่ยังมีสิทธิ์เล่นในการแข่งขันครั้งต่อไป
===ทศกัณฐ์ยกสยาม===
ดูบทความเพิ่มที่ ''[[ยกสยามปี 1|ทศกัณฐ์ยกสยาม]]''
 
 
== ทำเนียบแชมป์เกมทศกัณฐ์ ==
เส้น 50 ⟶ 134:
*** [[นภัทร อินทร์ใจเอื้อ]] และ [[วาโย อัศวรุ่งเรือง]] (แจ๊คพอต - เงินสด 1,000,000 บาท จาก [[ทรูมูฟ]]) รวมรางวัลแจ็คพอตทั้งสิ้น 2,714,000 บาท
 
=== ชื่อรายการ ===
# '''[[เกมทศกัณฐ์ (ยุคแรก)|เกมทศกัณฐ์]]''' (1 เมษายน 2546 - 31 มีนาคม 2548) รวม 1 ปี 11 เดือน 30 วัน
# '''[[ทศกัณฐ์ยกทัพ]]''' (31 ตุลาคม 2548 - 29 ธันวาคม 2549) รวม 1 ปี 1 เดือน 28 วัน
# '''[[ทศกัณฐ์จำแลง]]''' (1 มกราคม 2550 - 15 มิถุนายน 2550) รวม 6 เดือน 14 วัน
# '''[[ยกสยาม|ทศกัณฐ์ยกสยาม]]''' (18 กุมภาพันธ์ 2551 - 25 กุมภาพันธ์ 2553) รวม 2 ปี 7 วัน
# '''[[ยกสยาม|ยกสยาม ๑๐๐ ข้อ]]''' (1 มีนาคม 2553 - 2 มิถุนายน 2553) รวม 3 เดือน 1 วัน
# '''[[ยกสยาม|ยกสยาม ๑๐ ข้อ]]''' (3 มิถุนายน 2553 - 28 กุมภาพันธ์ 2554) รวม 8 เดือน 25 วัน
 
=== ชื่อรายการพิเศษ ===
# '''ทศกัณฐ์ ศึกทศกัณฐ์หน้าทอง''' (1 เมษายน 2548 - 28 ตุลาคม 2548) รวม 9 เดือน 27 วัน
# '''ทศกัณฐ์ช่วยครูใต้''' (18 มิถุนายน 2550 - 15 กุมภาพันธ์ 2551) รวม 8 เดือน 27 วัน
=== ผู้สนับสนุนรายการ ===
* เครื่องดื่มเบียร์ช้าง (1 เมษายน 2546 - กันยายน 2546)
เส้น 76 ⟶ 149:
* รางวัลเมขลา ประเภทผู้ดำเนินรายการดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2547 คุณปัญญา นิรันดร์กุล โดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย (23 เม.ย.2548)
* ASIAN TELEVISION AWARDS 2003 รางวัล RUNNER UP ประเภท BEST GAME OR QUIZ PROGRAMME (4 ธ.ค.2546)
 
== กติกา ==
 
=== เกมทศกัณฐ์ (ยุคแรก, ปางใหม่) ===
ผู้เข้าแข่งขันที่สมัครเข้ามาร่วมเล่นในรายการจะนั่งอยู่บนอัฒจรรย์ โดยทางรายการจะสุ่มไฟ ไฟติดที่ด้านหน้าของผู้เข้าแข่งขันคนใด ผู้เข้าแข่งขันคนนั้นจะได้ลงมาเล่นเกมบนเวที
เกมจะเริ่มขึ้นโดย ผู้เข้าแข่งขันทั้งสอง จะต้องเอามือวางบนจอมอนิเตอร์ด้านหน้าของตน เมื่อใบหน้าปรากฏบนจอ (โดยจะมีใบหน้าที่ต้องตอบ และใบหน้าถัดใบที่มีเพียงครึ่งเดียว) ผู้ที่กดไฟได้ก่อนจะมีสิทธิ์ตอบ (หากผู้เข้าแข่งขันกดปุ่มก่อนที่ภาพจะขึ้น ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเล่นทั้ง ๆ ที่ไม่มีภาพ) ผู้เข้าแข่งขันจะต้องตอบ'''ชื่อเล่น, ชื่อจริง, นามสกุลจริง, ชื่อที่รู้จักเป็นวงกว้าง'''อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด ของบุคคลในภาพให้ถูกต้อง (ในกรณีที่ตอบเฉพาะชื่อจริงเพียงอย่างเดียว จะต้องระบุด้วยว่าเขาหรือเธอมีอาชีพอะไร และหากตอบเป็นชื่อตัวละครที่บุคคลนั้นแสดงจะถือว่าตอบผิด)
 
* หากตอบได้ถูกต้อง ผู้เข้าแข่งขันจะมีคะแนนสะสม หน้าละ 1 คะแนน และเงินรางวัลแจ็คพ๊อตสะสมเพิ่มขึ้น 5,000 บาท
* หากตอบผิด เกมของผู้เข้าแข่งขันผู้นั้นจะหยุดลง
* หากผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจ จะมีสิทธิ์โยนให้ฝ่ายตรงข้าม 1 ครั้ง ถ้าหากฝ่ายตรงข้ามตอบถูก เกมของผู้ที่โยนจะหยุดลง แต่หากตอบผิด ผู้ที่โยนจะได้เล่นในใบหน้าถัดไป ทั้งนี้ ใบหน้าที่โยนนั้น จะไม่มีผลต่อคะแนนและเงินรางวัลสะสม
เมื่อเล่นครบทั้ง 2 ฝ่ายแล้ว ผู้ที่มีคะแนนสะสมมากกว่า จะเป็นฝ่ายชนะไป หากทั้ง 2 ฝ่ายมีคะแนนสะสมเท่ากัน จะต้องเล่นใหม่ จนกว่าจะรู้ผลแพ้ชนะ
 
ผู้ที่ชนะจะเป็นแชมป์ และอยู่เล่นเกมต่อในรายการ โดยในแต่ละรอบการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันทั้งสองจะได้รับเงินรางวัล 5,000 บาท ไม่ว่าแพ้หรือชนะ โดยแชมป์จะมีเงินรางวัลพิเศษเพิ่มเติมในทุก ๆ 10 สมัย จะได้รับเงินรางวัลอีก 100,000 บาท (ยกเว้นในสมัยที่ 5 ที่จะได้รับเงินรางวัลพิเศษไปก่อนต่างหาก 50,000 บาท)
 
ถ้าหากผู้เข้าแข่งขันคนใด สามารถตอบใบหน้าถูกครบ 10 หน้า จะได้รับเงินรางวัลแจ็คพ๊อตที่สะสมมา และจะเริ่มสะสมเงินรางวัลแจ็คพ๊อตใหม่
อย่างไรก็ดี ในเวลาต่อมา กติกาการให้รางวัลแจ๊คพ็อตได้เปลี่ยนเป็น หากผู้เข้าแข่งขันตอบภาพใบหน้าได้ครบ 10 หน้า จะได้รับเงินรางวัล 1,000,000 บาท หากในเดือนนั้น ๆ ยังไม่มีผู้ใดทำแจ๊คพ็อตแตก เงินรางวัลจะเพิ่มขึ้นเดือนละ 1,000,000 บาท จนถึง 10,000,000 บาท แต่เมื่อมีการทำแจ๊คพ๊อตแตกในครั้งที่ 2 โดยคุณสมพร ทางรายการได้แจ้งว่าจะไม่นับเดือนละ 1,000,000 อีกต่อไป โดยจะตั้งรางวัลไว้เลยที่ 10,000,000 เสมอ
 
สำหรับเกมทศกัณฐ์ปางใหม่นั้น กติกาจะเหมือนเดิมทุกอย่าง เพียงแต่ใบหน้าที่นำมาทายนั้น จะเป็นภาพวัยเด็กของบุคคลต่าง ๆ ทั้งหมด และเงินรางวัลแจ๊คพอตจะคงอยู่ที่ 10,000,000 บาทตลอดการแข่งขัน
 
=== ศึกทศกัณฐ์หน้าทอง ===
ศึกทศกัณฐ์หน้าทอง คือการแข่งขันของ 10 แชมป์ของเกมทศกัณฐ์ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด ผู้ที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1,000,000 บาท และ รางวัลทศกัณฐ์หน้าทองคำ และใครตอบใบหน้าสะสมได้มากที่สุดรับเงินรางวัลมูลค่า 100,000 บาท
 
=== เกมทศกัณฐ์ยกทัพ ===
กติกาในการทายใบหน้านั้นเหมือนเดิม แต่ในเกมทศกัณฐ์ยกทัพนั้น จะแข่งขันในแบบทีม ทีมละ 3 คน โดยจะถูกแบ่งออกเป็นทีม'''สีแดง'''และ'''สีน้ำเงิน''' ทั้ง 2 ทีมจะถูกสุ่มไฟขึ้นมา โดยเริ่มแรกนั้น ทั้ง 2 ทีมจะส่งตัวแทนออกมาทีมละ 1 คนเพื่อเล่นเกม โดยจะมีภาพใบหน้าของบุคคลให้ก่อน 2 ภาพ ภาพละครึ่งใบหน้า เมื่อภาพขึ้นมาแล้ว ทั้ง 2 ทีมจะต้องชักธงรบ (เหมือนการกดปุ่มไฟ) ไฟติดที่ทีมไหน จะได้เลือกใบหน้าที่จะเล่นและมีสิทธิ์ที่จะเลือกเล่นครึ่งหน้าหรือเต็มหน้า (การทายครึ่งหน้าจะชนะการทายเต็มหน้า) เมื่อเล่นครบทั้งสองคน คนที่แพ้จะต้องลงจากเวที ทีมไหนตกรอบทั้งทีมก่อนจะเป็นฝ่ายแพ้ไป ทีมที่ชนะจะได้เป็นแชมป์และเข้าไปเล่นรอบแจ๊คพอต ทั้งนี้ ทั้ง 2 ทีมจะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท
 
อย่างไรก็ดี ในเวลาต่อมา ได้มีการเปลี่ยนกติกาเล็กน้อยคือ มีภาพใบหน้าให้ดูเพียงครึ่งใบหน้า เมื่อใบหน้าขึ้นบนจอจะต้องชักธงรบเพื่อชิงสิทธิ์ในการตอบ ถ้าตอบถูกอีกคนในทีมตรงข้ามจะต้องลงจากเวที แต่ถ้าตอบผิดจะต้องลงจากเวทีเอง ทั้งนี้ หากชักธงได้ แต่ไม่มั่นใจ สามารถโยนให้ฝ่ายตรงข้ามตอบ ซึ่งถ้าโยนแล้วฝ่ายตรงข้ามตอบถูก ฝ่ายที่โยนต้องลงจากเวที แต่ถ้าตอบผิดต้องลงจากเวทีเอง ทีมไหนคนลงหมดเวทีก่อน จะตกรอบไป ส่วนอีกทีมหนึ่งจะได้เลือกว่าจะสะสมเงินรางวัลเพิ่ม 10,000 บาท หรือเรียกเพื่อนขึ้นมาบนเวทีอีกหนึ่งคน ภายหลัง ทุก ๆ 10 สมัย ทีมแชมป์จะต้องเลือกว่าต้องการคนเพิ่ม หรือสะสมเงินรางวัลเพิ่มอีก 100,000 (หากทีมแชมป์มีผู้เล่นครบ 3 คน จะได้รับเงินรางวัลสะสมเพิ่มโดยอัตโนมัติ)
 
ในทุก ๆ ครั้งที่เป็นแชมป์ (หรือทุก ๆ 10 สมัยในกติกาใหม่) ทีมแชมป์จะได้เล่นรอบแจ๊คพ็อต ซึ่งจะมีใบหน้าที่ถูกตัดและสลับเป็น 5 ส่วน ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกว่าจะเป็นภาพกี่ส่วน โดยจะมีเงินรางวัลต่างกันดังนี้
* เปิด 1 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 10,000,000 บาท
* เปิด 2 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 1,000,000 บาท
* เปิด 3 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 100,000 บาท
* เปิด 5 ส่วน หากตอบถูกจะได้เงินรางวัล 10,000 บาท
ผู้เข้าแข่งขันมี 60 วินาทีในการตอบ หากตอบถูกจะได้รับเงินรางวัลตามอัตราข้างต้น คูณกับจำนวนคนที่มีในรอบนั้น (ฉะนั้น รางวัลแจ๊คพ็อตคือ 30,000,000 บาท)
แต่หากผู้เข้าแข่งขันตอบผิด จะตกรอบในทันที หากไม่มั่นใจ ผู้เข้าแข่งขันมีสิทธิ์ยกธงขาว (ยอมแพ้) โดยจะไม่ได้รางวัลแจ๊คพ็อต แต่ยังคงได้เล่นเกมต่อไป
 
อย่างไรก็ดี ในกติกาใหม่นั้น ทีมแชมป์จะมีเวลา 60 วินาที โดยจะเริ่มจากการเปิด 1 ส่วนก่อน หากตอบไม่ได้จะมีสิทธิ์หยุดเวลา เพื่อเปิดส่วนของใบหน้าเพิ่ม แต่เงินรางวัลจะถูกลดลงตามอัตราเดิม โดยจะเล่นอย่างนี้ไปเรี่อย ๆ จนกว่าจะตอบ, ยกธงขาว
 
=== เกมทศกัณฐ์จำแลง ===
รูปแบบการเล่นในเกมทศกัณฐ์จำแลง จะเป็นการทายใบหน้าจากคำใบ้ที่กำหนด โดยจะสุ่มผู้เข้าแข่งขันขึ้นมาเล่น ในเกมนี้จะแข่งกัน 2 คน โดยกติกาเริ่มแรกสุดคือทั้ง 2 ฝ่ายต้องแข่งกดไฟเพื่อชิงสิทธิ์เล่นก่อน โดยจะมีคำใบ้ปรากฏบนหน้าจอของตัวเอง มาคำใบ้มาแล้ว ต้องแข่งกันกดไฟ ใครกดได้ก่อน มีสิทธิ์ได้เล่นในคำใบ้นี้ จากนั้นจะปรากฏใบหน้า 3 ใบหน้าเพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันทาย ผู้เข้าแข่งขันจะต้องทายให้ถูกว่าคำใบ้ที่ได้มาหมายถึงบุคคลใดใน 3 คนนี้ ถ้าตอบถูกจะได้ 1 คะแนน และมีสิทธิ์เล่นในข้อต่อไป หากตอบผิด เกมจะหยุดลงทันที หากผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจสามารถโยนได้ 1 ครั้ง ซึ่งหลักการโยน มีลักษณะเช่นเดียวกับเกมทศกัณฐ์ในรูปแบบแรก นั่นคือ หากโยนมาแล้วอึกฝ่ายหนึ่งตอบถูก เกมของผู้ที่โยนมาต้องหยุดลงทันที แต่ถ้าอีกฝ่ายหนึ่งตอบผิด ผู้ที่โยนมาจะมีสิทธิ์เล่นต่อไป โดยที่ใบหน้าที่โยนไปจะไม่มีผลต่อคะแนน เมื่อฝ่ายหนึ่งเล่นเสร็จ อีกฝ่ายหนึ่งจะได้เล่นในกติกาเดียวกัน เมื่อจบการแข่งขันของทั้ง 2 ฝ่าย ใครมีคะแนนมากกว่า จะได้เป็นแชมป์
 
ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนกติกา คือจะไม่มีการกดไฟ และทั้ง 2 ฝ่ายจะผลัดกันเล่นทีละข้อ โดยผู้ท้าชิงจะได้เล่นก่อน ผู้ท้าชิงจะเป็นตัวตั้งให้กับแชมป์ ถ้าผู้ท้าชิงตอบถูก แชมป์ต้องตอบให้ถูกเพื่อเสมอกับผู้ท้าชิง หากตอบผิด แพ้ทันที แต่ถ้าผู้ท้าชิงตอบผิด แชมป์ต้องตอบให้ถูกเพื่อเป็นแชมป์ต่อไป หากตอบผิด ถือว่าเสมอกัน
 
ในการเป็นแชมป์ทุก ๆ 1 สมัย จะได้เงินรางวัล 10,000 บาท และเมื่อครบทุก 10 สมัย จะมีสิทธิ์เล่นในรอบแจ๊คพอต
 
เกมในรอบแจ๊คพอตนั้นมีความคล้ายคลึงกับรอบแจ๊คพอตของเกมทศกัณฐ์ยกทัพ นั่นคือ จะมีใบหน้า 1 ใบหน้า ถูกตัดเป็น 5 ส่วน แล้วสลับแต่ละส่วนกัน การเล่นคือจะเริ่มเปิดตั้งแต่หมายเลข 1-5 ซึ่งแต่ละส่วนที่เปิดนั้นจะมาพร้อมกับ 1 คำใบ้ ผู้เข้าแข่งขันมีเวลา 60 วินาทีในการตอบ และแจ๊คพอตจะเริ่มที่ 10,000,000 บาท หากไม่มั่นใจสามารถขอหยุดเวลาแล้วเปิดอีก 1 ส่วนพร้อมกับอีก 1 คำใบ้ แต่ละครั้งที่เปิด แจ๊คพอตจะลดลงเหลือ 1,000,000 บาท, 100,000 บาท และ 10,000 บาท ซึ่งระดับ 10,000 บาทนี้ จะเปิด 2 ส่วน พร้อมกับ 2 คำใบ้ และถ้าผู้เข้าแข่งขันตอบถูกจะได้เงินรางวัลตามระดับที่เล่น แต่ถ้าตอบผิดจะเสียแชมป์ทันที แต่ถ้าผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจสามารถยกธงขาวยอมแพ้ได้ โดยที่จะไม่ได้เงินรางวัลตรงนี้ไป แต่ยังมีสิทธิ์เล่นในการแข่งขันครั้งต่อไป
 
== อ้างอิง ==
เส้น 128 ⟶ 156:
 
{{โครงส่วน}}
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = ยังไม่มี
| ตำแหน่ง = {{PAGENAME}}
| ปี = [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2546]] - [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2551]]
| ถัดไป = [[ยกสยามปี 1|ทศกัณฐ์ยกสยาม]]
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{เวิร์คพอยท์}}