ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักย์ไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|โวลเตจ}}
สำหรับความต่างศักย์ไฟฟ้า ดู [[โวลเทจ]]
{{ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า}}
'''ศักย์ไฟฟ้า''' ({{lang-en|Electricelectric Potentialpotential}}) (ยังถูกเรียกว่า '''ศักย์สนามไฟฟ้า'''หรือ'''ศักย์ไฟฟ้าสถิต''') เป็นปริมาณของพลังงานศักย์ไฟฟ้าที่ประจุไฟฟ้าที่จุดหนึ่งเดียวนั้นจะพึงมีถ้ามันถูกมองหาตำแหน่งที่จุดใดจุดหนึ่งในที่ว่าง และมีค่าเท่ากับงานที่ถูกกระทำโดยสนามไฟฟ้าหนึ่งในการเคลื่อนย้ายหนึ่งหน่วยของประจุบวกจากที่ห่างไกลไม่สิ้นสุด ({{lang-en|infinity}}) มาที่จุดนั้น
 
ใน[[ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า]]แบบคลาสสิก ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์แสดงโดย {{math|Φ}}, {{math|Φ<sub>'''''E'''''</sub>}} หรือ {{math|''V''}} มีค่าเท่ากับพลังงานศักย์ไฟฟ้า(มีหน่วยเป็นจูล)ของอนุภาคที่มีประจุใด ๆ ที่ตำแหน่งใด ๆ หารด้วยประจุ(มีหน่วยเป็นคูลอมบ์)ของอนุภาคนั้น เมื่อประจุของอนุภาคได้ถูกหารออกไป ส่วนที่เหลือจึงเป็น "คุณสมบัติ" ของตัวสนามไฟฟ้าเอง
บรรทัด 20:
 
วัตถุจำนวนมากอาจครอบครองคุณสมบัติที่เรียกว่าประจุไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะออกแรงบังคับบนวัตถุที่มีประจุนั้น ถ้าวัตถุที่มีประจุมีประจุบวก แรงจะอยู่ในทิศทางของเวกเตอร์สนามไฟฟ้าที่จุดนั้นในขณะที่ถ้าประจุนั้นเป็นลบ แรงจะเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม ขนาดของแรงจะถูกกำหนดโดยปริมาณของประจุคูณด้วยขนาดของเวกเตอร์สนามไฟฟ้า
 
== ไฟฟ้าสถิต ==
 
 
 
{{โครง}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}http://www.vcharkarn.com/lesson/1201
[[หมวดหมู่:แม่เหล็กไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:ไฟฟ้า]]